Saturday, April 30, 2016

จันทรโอชา ราชวงศ์ใหม่ที่ประเทศไทย ไม่ต้องการ


จันทรโอชา ราชวงศ์ใหม่ที่ประเทศไทย ไม่ต้องการ


พร้อมกันทั่วประเทศ 7 ส.ค.59 ประกาศความเป็นเจ้าของประเทศ


พร้อมกันทั่วประเทศ 7 ส.ค.59 ประกาศความเป็นเจ้าของประเทศ


เราอยู่กันให้พวกมันเหยียบย้ำเราอย่างนี้หรือ.... ประชาชน

เราอยู่กันให้พวกมันเหยียบย้ำเราอย่างนี้หรือ.... ประชาชน

-
ทรราช ประวิตร  ใช้อำนาจ คสช.และ รองนายกฯ ที่ดูแลกรมตำรวจ แต่งตั้งให้ อีตั๊น จิตภัสร์ สัสสลิ่ม กปปส.  บรรจุยศร้อยตรี กรมปทุมวันเรียบร้อย

-
  หลังจากก่อนหน้านี้ มีความพยายาม ให้ยศ อีตั้นและเหล่าสมุนของ กปปส. เพื่อเป็นค่าตอบแทน ที่ช่วยงานล้มรัฐบาล ที่มาจากการเลือกตั้งได้สำเร็จ ในปี 2557

-
ถึงแม้ว่า อีตั้น จิตภัสร์ สัสสลิ่ม กปปส. ตัวนี้ จะมีคดีร้ายแรงที่อยู่ในรายนามผู้ต้องหาฯ  ก็ตาม ....กระทั้งมีความพยายาม ถอดรายชื่อผุ้ต้องหาคดีร้ายแรง ได้สำเร็จ ด้วยอำนาจ ทรราช คสช. 

-
เรามาดูกันว่า อีตั้น ทำไมถึงมีคุณลักษณะ พิเศษ กว่าประชาชนทั้งประเทศ 

-

1 ) ตำแหน่งของอีตั้น จิตภัสร์ ไม่ได้มีการสอบแข่งขันกับผู้อื่น เหมือนหลานชายของทรราช ประยุทธ์ ที่ได้รับการติดยศร้อยตรี เช่นกันในกองทัพ 

-
2 ) ในประเทศไทยมีประชาชนอีกจำนวนไม่น้อย ที่มีความสามารถด้านประสานงานต่างประเทศ รวมถึงพูดได้หลายภาษา เช่น อังกฤษ จีน สเปน ฝรั่งเศส เยอรมัน แต่คนกลุ่มนั้นไม่ได้รับโอกาส เพราะบุคคลทั่วไป เป็นประชาชน ธรรมดา  ไม่สามารถแปลภาษา นกหวีดได้

-
3 ) การประชาชนทั่วไปเคลือบแคลงใจ เหตุผลในการพยายามลากตั้ง แต่งตั้ง ว่าเป็นการเอื้อประโยชน์ให้พวกพ้อง กปปส. เป็นการทดแทนผู้มีบุญคุณหรือไม่ เข้าข่ายการล็อบบี้ยิสต์หรือไม่ เพราะไม่ต้องเข้าสอบ ตามขบวนการของตำรวจ

-
4 ) หากเป็นการสอบแข่งขันแม้ในระดับนายสิบตำรวจ ยังต้องมีการเช็คประวัติบุคคลเรื่องคดีอย่างละเอียด หากบุคคลใดมีประวัติเข้าข่ายจะถูกตัดสิทธิทันที แต่อีตั้น มีคดีร้ายแรง ที่อยู่ระหว่างการดำเนินคดี  หากแต่สามารถเข้ารับการติดยศได้

-
5 ) อีตั้น จิตภัสร์ เป็นแกนนำสำคัญที่ยุยงปลุกปั่น ปล่อยให้มีทำร้ายเพื่อนข้าราชการตำรวจ ดูหมิ่นด่าทอศักดิ์ศรี ทำลายดูหมิ่นป้ายสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้อาวุธหนักจนมีเพื่อนตำรวจเสียชีวิตและพิการ ซึ่งตำรวจเหล่านั้นที่ได้รับผลกระทบหลายสิบคน ทั้งตายและบาดเจ็บ  อีตั้นอยู่ฝ่ายการเมืองนอกสถา  และจะมาปฏิบัติหน้าที่เป็นกลางในการรักษาความสงบ ของประเทศได้อย่างไร

-
6 ) ตำแหน่งนี้ เป็นตำแหน่งที่เปิดใหม่ขึ้นมา ใน ยุค ทรราช คสช.  และอีตั้น จิตภัสร์ ก็เป็นคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่ง คำถามคือ ตำแหน่งนี้สำคัญอย่างไร และทำไมต้องอีตั้นจิตภัสร์

-
7 )  อำนาจการบรรจุบุคคลเข้ารับราชการตำรวจกรณีพิเศษนี้ เป็นอำนาจของ ผบ.ตร.   ว่า ผบ.ตร.เปิดตำแหน่งนี้ เป็นการตอบแทนผลประโยชน์กัน ระหว่าง กปปส. กับ ทรราช คสช. ที่ได้ช่วยกันล้มรัฐบาลที่มาจาก การเลือกตั้งของประชาชน  หรือไม่

-
8 ) แม้มีข่าว อีตั้น จิตภัสร์ มีงานสารนิพนธ์ ป.โท ที่ไม่ได้เผยแพร่ในห้องสมุดจุฬาฯ คำถามคือ ผ่านมาปีกว่าทำไมไม่เผยแพร่ และเป็นไปได้หรือไม่ว่า อีตั้นจิตภัสร์ ไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษาเพียงพอที่จะบรรจุเข้ารับราชการตำรวจ แต่เป็นการช่วยเหลือกัน ทำเอกสารปลอม เพื่อให้ได้รับการบรรจุ  ในกรมตำรวจ เหมือนไอ้ฆาตกร 100 ศพ อภิสิทธ์  ที่ใช้เอกสารหนี้ทหาร สมัคร สส.

-
หากการเข้ารับราชการในกรมตำรวจครั้งนี้ ก็ไม่เปิดเผย เป็นการบรรจุและช่วยเหลือกันในกลุ่ม กปปส . และทรราช คสช.แบบลับ ๆ แม้อีตั้น จิตภัสร์ และผู้แต่งตั้ง จะกินเงินเดือนจากภาษีของประชาชน ก็ตามหรือ............. นั้นคือสิ่งที่ต้องถามใจพี่น้องประชาชน และตำรวจ ที่ถูก กปปส. ฆ่าตายและได้รับบาดเจ็บอยู่ทุกวันนี้ว่า .............. เราจะทนให้อำนาจ ทรราช คสช. ครอยงำเราอยู่อย่างนี้หรือ

-

เสรีชน



เราอยู่กันให้พวกมันเหยียบย้ำเราอย่างนี้หรือ.... ประชาชน

เราอยู่กันให้พวกมันเหยียบย้ำเราอย่างนี้หรือ.... ประชาชน

-
ทรราช ประวิตร  ใช้อำนาจ คสช.และ รองนายกฯ ที่ดูแลกรมตำรวจ แต่งตั้งให้ อีตั๊น จิตภัสร์ สัสสลิ่ม กปปส.  บรรจุยศร้อยตรี กรมปทุมวันเรียบร้อย

-
  หลังจากก่อนหน้านี้ มีความพยายาม ให้ยศ อีตั้นและเหล่าสมุนของ กปปส. เพื่อเป็นค่าตอบแทน ที่ช่วยงานล้มรัฐบาล ที่มาจากการเลือกตั้งได้สำเร็จ ในปี 2557

-
ถึงแม้ว่า อีตั้น จิตภัสร์ สัสสลิ่ม กปปส. ตัวนี้ จะมีคดีร้ายแรงที่อยู่ในรายนามผู้ต้องหาฯ  ก็ตาม ....กระทั้งมีความพยายาม ถอดรายชื่อผุ้ต้องหาคดีร้ายแรง ได้สำเร็จ ด้วยอำนาจ ทรราช คสช. 

-
เรามาดูกันว่า อีตั้น ทำไมถึงมีคุณลักษณะ พิเศษ กว่าประชาชนทั้งประเทศ 

-

1 ) ตำแหน่งของอีตั้น จิตภัสร์ ไม่ได้มีการสอบแข่งขันกับผู้อื่น เหมือนหลานชายของทรราช ประยุทธ์ ที่ได้รับการติดยศร้อยตรี เช่นกันในกองทัพ 

-
2 ) ในประเทศไทยมีประชาชนอีกจำนวนไม่น้อย ที่มีความสามารถด้านประสานงานต่างประเทศ รวมถึงพูดได้หลายภาษา เช่น อังกฤษ จีน สเปน ฝรั่งเศส เยอรมัน แต่คนกลุ่มนั้นไม่ได้รับโอกาส เพราะบุคคลทั่วไป เป็นประชาชน ธรรมดา  ไม่สามารถแปลภาษา นกหวีดได้

-
3 ) การประชาชนทั่วไปเคลือบแคลงใจ เหตุผลในการพยายามลากตั้ง แต่งตั้ง ว่าเป็นการเอื้อประโยชน์ให้พวกพ้อง กปปส. เป็นการทดแทนผู้มีบุญคุณหรือไม่ เข้าข่ายการล็อบบี้ยิสต์หรือไม่ เพราะไม่ต้องเข้าสอบ ตามขบวนการของตำรวจ

-
4 ) หากเป็นการสอบแข่งขันแม้ในระดับนายสิบตำรวจ ยังต้องมีการเช็คประวัติบุคคลเรื่องคดีอย่างละเอียด หากบุคคลใดมีประวัติเข้าข่ายจะถูกตัดสิทธิทันที แต่อีตั้น มีคดีร้ายแรง ที่อยู่ระหว่างการดำเนินคดี  หากแต่สามารถเข้ารับการติดยศได้

-
5 ) อีตั้น จิตภัสร์ เป็นแกนนำสำคัญที่ยุยงปลุกปั่น ปล่อยให้มีทำร้ายเพื่อนข้าราชการตำรวจ ดูหมิ่นด่าทอศักดิ์ศรี ทำลายดูหมิ่นป้ายสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้อาวุธหนักจนมีเพื่อนตำรวจเสียชีวิตและพิการ ซึ่งตำรวจเหล่านั้นที่ได้รับผลกระทบหลายสิบคน ทั้งตายและบาดเจ็บ  อีตั้นอยู่ฝ่ายการเมืองนอกสถา  และจะมาปฏิบัติหน้าที่เป็นกลางในการรักษาความสงบ ของประเทศได้อย่างไร

-
6 ) ตำแหน่งนี้ เป็นตำแหน่งที่เปิดใหม่ขึ้นมา ใน ยุค ทรราช คสช.  และอีตั้น จิตภัสร์ ก็เป็นคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่ง คำถามคือ ตำแหน่งนี้สำคัญอย่างไร และทำไมต้องอีตั้นจิตภัสร์

-
7 )  อำนาจการบรรจุบุคคลเข้ารับราชการตำรวจกรณีพิเศษนี้ เป็นอำนาจของ ผบ.ตร.   ว่า ผบ.ตร.เปิดตำแหน่งนี้ เป็นการตอบแทนผลประโยชน์กัน ระหว่าง กปปส. กับ ทรราช คสช. ที่ได้ช่วยกันล้มรัฐบาลที่มาจาก การเลือกตั้งของประชาชน  หรือไม่

-
8 ) แม้มีข่าว อีตั้น จิตภัสร์ มีงานสารนิพนธ์ ป.โท ที่ไม่ได้เผยแพร่ในห้องสมุดจุฬาฯ คำถามคือ ผ่านมาปีกว่าทำไมไม่เผยแพร่ และเป็นไปได้หรือไม่ว่า อีตั้นจิตภัสร์ ไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษาเพียงพอที่จะบรรจุเข้ารับราชการตำรวจ แต่เป็นการช่วยเหลือกัน ทำเอกสารปลอม เพื่อให้ได้รับการบรรจุ  ในกรมตำรวจ เหมือนไอ้ฆาตกร 100 ศพ อภิสิทธ์  ที่ใช้เอกสารหนี้ทหาร สมัคร สส.

-
หากการเข้ารับราชการในกรมตำรวจครั้งนี้ ก็ไม่เปิดเผย เป็นการบรรจุและช่วยเหลือกันในกลุ่ม กปปส . และทรราช คสช.แบบลับ ๆ แม้อีตั้น จิตภัสร์ และผู้แต่งตั้ง จะกินเงินเดือนจากภาษีของประชาชน ก็ตามหรือ............. นั้นคือสิ่งที่ต้องถามใจพี่น้องประชาชน และตำรวจ ที่ถูก กปปส. ฆ่าตายและได้รับบาดเจ็บอยู่ทุกวันนี้ว่า .............. เราจะทนให้อำนาจ ทรราช คสช. ครอยงำเราอยู่อย่างนี้หรือ

-

เสรีชน



เรื่องเล่า “เมื่อภูมิพล ขู่นายกทักษิณ ว่า......"

ตอนที่ 172

"ฝากไปบอกเขาด้วยว่า ให้เลือกเอาเองว่า ตอนจบอยากจะเป็นแบบ ปรีดา หรือ ขนอม"

นี่เป็นประโยคล่าสุดที่เราได้ทราบว่า ลุงได้พูดออกมากับคนรอบข้าง หลังจากที่ไม่ได้ยินเสียงของลุงมานาน
หลังจากที่ช่วงหลังมานี้ แมวได้ทำอะไรที่ดูเหมือนจะขัดลูกหูลูกตาลุง และป้า เป็นอย่างมาก นี่เราก็ไม่รู้ว่า แมวแกล้งไม่รู้หรือ รู้แล้ว เพราะครอบครัวลุง โดยเฉพาะ หัวหน้าขบวน ที่นอกจากจะตาบอดแล้ว ลุงยังมีนิสัยตาร้อนผ่าวถ้าเห็นใครที่เก่งเกินหน้าเกินตา

เรือ่งของแมว ที่ลุงเริ่มจะไม่ค่อยจะพอใจไล่มาตั้งแต่ เมื่อตอนที่น้ำท่วมหนัก ลุงหาว่าแมวขโมยซีน ไมว่าจะเป็นยอดเงินบริจาคที่มากกว่า หรือของในถุงยังชีพที่ดีกว่า ขนาดถุงยังชีพลุงแกยังไม่ยอมปล่อยวาง

ลุงบ่นกับคนรอบข้างว่า แมวตั้งใจหักหน้าให้ลุงต้องเสียหน้า แต่ก็ยอมรับว่า ถุงของแมวนั้นดูดีกว่าจริงๆ เพราะที่เราเห็น ถุงของแมวจะเป็นถุงปุ๋ยที่กันน้ำ ถุงใหญ่กว่า
แต่ของลุง ก็เป็นอย่างที่เห็น เป็นถุงที่มีแต่โลโก้ แล้วปลากระป๋องที่แจก ดันไม่ยอมแจกแบบที่ไม่ต้องใช้ที่เปิด แล้วน้ำท่วมลูกจ้างจะไปหาที่เปิดมาจากไหนลุงถาม ที่ปรึกษาว่า ภาคต่อของเมียแมว ตอนนี้ไปถึงไหนแล้ว ถ้ายังไม่เสร็จก็เรียบๆ ให้เสร็จ คราวนี้ขอไม่ต่ำกว่าของ แมว

นี่เราก็ไม่รู้ว่าลุงพูดจริง หรือแค่บ่นไปตามประสาคนแก่ขี้อิจฉา
แต่ที่เรายังไม่ค่อนจะเข้าใจในตอนแรก ก็คือ ว่า ทำไมลุงถึงต้องให้แมวเลือกว่า แมวอยากเลือกที่จะเป็นไหน ปรีดา หรือ ขนอม

เรื่อง ปรีดี ก็พอที่จะเข้าใจอยู่ เพราะลุงแกไม่ชอบมาตั้งแต่ไหนแต่ไร ขนาดจะเอาขี้เถ้ากลับมา ลุงก็สวมบทเป็นจระเข้ขวางคลอง
คิดไปคิดมา แต่พอที่ลุงเรียก นาย ธาริน เข้าหา ทุกอย่างก็ถึงบางอ้อ งานนี้ ต้องขอบอกว่า ทุกครั้งที่ลุงเรียกหา ใช้งาน ธาริน เราใจคอไม่ค่อยจะสู้ดี

เพราะเท่าที่รู้มาว่า ธาริน เป็นลูกน้องที่ลุงรักมาก ธาริน เป็นสมุน เบอร์ 3 ต่อจาก นาย ป และ Winston
ลุงก็คง งงว่า ทำไม เหตุการณ์ของดรงงานตอนนี้ ทำไมไม่เหมือนหลัง วันย่างสดเผาสด ทำไมลูกจ้างไม่ยอมรักลุงเหมือนแต่ก่อน
พูดถึงคนนี้ ถึงแม้ว่าลุงจะไว้ใจ ธาริน ที่สุดคนหนึ่ง
ลุงก็หารู้ไม่ว่า ลูกน้องลุงคนนี้ เป็นคนที่คิดร้ายกับ ลุงมากที่สุด คนหนึ่งเหมือนกัน เพราะธาริน เป็นคนเผยความลับที่ว่า ลุงเป็น คนที่ติดต่อให้ ขนอม ปลอมตัวเป็นสามเณรที่แก่สุดในโลกเข้ามาในโรงงาน ทั้งๆ ที่ ขนอม นั้นไม่อยากกลับมายุ่งวุ่นวาย แต่ลุงก็ขู่ว่า งานนี้ถ้า ขนอมไม่อยากมา

สงสัยเมีย และลูกๆ ก็คงจะต้องเดือดร้อน (เหมือนกับที่แมวกำลังโดน)
ตอนที่ ขนอม กลับเข้ามา เรื่องราวมันก็ถึงวุ่นวาย ขนอมอ้างว่า กลับเพราะพ่อป่วยใกล้ตาย (สุดท้ายอีกสิบกว่าพ่อของขนอมถึงได้ตาย) พอเสร็จดีลของลุง เกิด วันเผาสด ขนอม แกก็สึกหน้าตาเฉย

และสุดท้าย ขนอม แกก็ได้ดิบได้ดี มีสายสพาย มีเงินมีทองใช้ ลุงก็เลี้ยงดูปูเสื่ออย่างดี ตอนตาย เมพที่ตอนนั้นแขนเดี้ยงก็อุตส่าห์ ไปเป็นแม่งาน
ตอนนี้ สงสัยแมวจะงานเข้าเป็นที่เรียบร้อย แมวคงต้องเลือกเอาว่า แมวอยากกลับมาตอนเป็นขี้เถ้าแบบปรีดา หรือยอมกลับมาเป็นขี้ข้าของลุง ได้สายสะพาย และเมียไม่ต้องไปเที่ยวฮ่องกง แบบขนอม

คิดว่าอีกไม่นานเกินรอ ภาคต่อของเมียแมว ลูกจ้างคงได้เห็นกันแน่ แต่ว่าจะกี่ปี
งานนี้คงสุดแท้แต่พฤติกรรมของแมว แต่เพียงผู้เดียวถ้าแมว และพรรคพวกยังไม่หยุดเรียกร้อง ปชต งานนี้มีหวัง คงยากที่เขาจะได้กลับบ้านแบบตัวเป็นๆ

แมวไม่ใช่ศัตรูที่แท้จริงของลุง



คนที่ต้องการ ปชต ทุกคนต่างหาก ที่เป็นศัตรูที่แท้จริงลุง

Source: http://pla-kapong-story.blogspot.com/search?updated-min=2011-01-01T00:00:00%2B11:00&updated-max=2012-01-01T00:00:00%2B11:00&max-results=2

เรื่องเล่า “เมื่อภูมิพล ขู่นายกทักษิณ ว่า......"

ตอนที่ 172

"ฝากไปบอกเขาด้วยว่า ให้เลือกเอาเองว่า ตอนจบอยากจะเป็นแบบ ปรีดา หรือ ขนอม"

นี่เป็นประโยคล่าสุดที่เราได้ทราบว่า ลุงได้พูดออกมากับคนรอบข้าง หลังจากที่ไม่ได้ยินเสียงของลุงมานาน
หลังจากที่ช่วงหลังมานี้ แมวได้ทำอะไรที่ดูเหมือนจะขัดลูกหูลูกตาลุง และป้า เป็นอย่างมาก นี่เราก็ไม่รู้ว่า แมวแกล้งไม่รู้หรือ รู้แล้ว เพราะครอบครัวลุง โดยเฉพาะ หัวหน้าขบวน ที่นอกจากจะตาบอดแล้ว ลุงยังมีนิสัยตาร้อนผ่าวถ้าเห็นใครที่เก่งเกินหน้าเกินตา

เรือ่งของแมว ที่ลุงเริ่มจะไม่ค่อยจะพอใจไล่มาตั้งแต่ เมื่อตอนที่น้ำท่วมหนัก ลุงหาว่าแมวขโมยซีน ไมว่าจะเป็นยอดเงินบริจาคที่มากกว่า หรือของในถุงยังชีพที่ดีกว่า ขนาดถุงยังชีพลุงแกยังไม่ยอมปล่อยวาง

ลุงบ่นกับคนรอบข้างว่า แมวตั้งใจหักหน้าให้ลุงต้องเสียหน้า แต่ก็ยอมรับว่า ถุงของแมวนั้นดูดีกว่าจริงๆ เพราะที่เราเห็น ถุงของแมวจะเป็นถุงปุ๋ยที่กันน้ำ ถุงใหญ่กว่า
แต่ของลุง ก็เป็นอย่างที่เห็น เป็นถุงที่มีแต่โลโก้ แล้วปลากระป๋องที่แจก ดันไม่ยอมแจกแบบที่ไม่ต้องใช้ที่เปิด แล้วน้ำท่วมลูกจ้างจะไปหาที่เปิดมาจากไหนลุงถาม ที่ปรึกษาว่า ภาคต่อของเมียแมว ตอนนี้ไปถึงไหนแล้ว ถ้ายังไม่เสร็จก็เรียบๆ ให้เสร็จ คราวนี้ขอไม่ต่ำกว่าของ แมว

นี่เราก็ไม่รู้ว่าลุงพูดจริง หรือแค่บ่นไปตามประสาคนแก่ขี้อิจฉา
แต่ที่เรายังไม่ค่อนจะเข้าใจในตอนแรก ก็คือ ว่า ทำไมลุงถึงต้องให้แมวเลือกว่า แมวอยากเลือกที่จะเป็นไหน ปรีดา หรือ ขนอม

เรื่อง ปรีดี ก็พอที่จะเข้าใจอยู่ เพราะลุงแกไม่ชอบมาตั้งแต่ไหนแต่ไร ขนาดจะเอาขี้เถ้ากลับมา ลุงก็สวมบทเป็นจระเข้ขวางคลอง
คิดไปคิดมา แต่พอที่ลุงเรียก นาย ธาริน เข้าหา ทุกอย่างก็ถึงบางอ้อ งานนี้ ต้องขอบอกว่า ทุกครั้งที่ลุงเรียกหา ใช้งาน ธาริน เราใจคอไม่ค่อยจะสู้ดี

เพราะเท่าที่รู้มาว่า ธาริน เป็นลูกน้องที่ลุงรักมาก ธาริน เป็นสมุน เบอร์ 3 ต่อจาก นาย ป และ Winston
ลุงก็คง งงว่า ทำไม เหตุการณ์ของดรงงานตอนนี้ ทำไมไม่เหมือนหลัง วันย่างสดเผาสด ทำไมลูกจ้างไม่ยอมรักลุงเหมือนแต่ก่อน
พูดถึงคนนี้ ถึงแม้ว่าลุงจะไว้ใจ ธาริน ที่สุดคนหนึ่ง
ลุงก็หารู้ไม่ว่า ลูกน้องลุงคนนี้ เป็นคนที่คิดร้ายกับ ลุงมากที่สุด คนหนึ่งเหมือนกัน เพราะธาริน เป็นคนเผยความลับที่ว่า ลุงเป็น คนที่ติดต่อให้ ขนอม ปลอมตัวเป็นสามเณรที่แก่สุดในโลกเข้ามาในโรงงาน ทั้งๆ ที่ ขนอม นั้นไม่อยากกลับมายุ่งวุ่นวาย แต่ลุงก็ขู่ว่า งานนี้ถ้า ขนอมไม่อยากมา

สงสัยเมีย และลูกๆ ก็คงจะต้องเดือดร้อน (เหมือนกับที่แมวกำลังโดน)
ตอนที่ ขนอม กลับเข้ามา เรื่องราวมันก็ถึงวุ่นวาย ขนอมอ้างว่า กลับเพราะพ่อป่วยใกล้ตาย (สุดท้ายอีกสิบกว่าพ่อของขนอมถึงได้ตาย) พอเสร็จดีลของลุง เกิด วันเผาสด ขนอม แกก็สึกหน้าตาเฉย

และสุดท้าย ขนอม แกก็ได้ดิบได้ดี มีสายสพาย มีเงินมีทองใช้ ลุงก็เลี้ยงดูปูเสื่ออย่างดี ตอนตาย เมพที่ตอนนั้นแขนเดี้ยงก็อุตส่าห์ ไปเป็นแม่งาน
ตอนนี้ สงสัยแมวจะงานเข้าเป็นที่เรียบร้อย แมวคงต้องเลือกเอาว่า แมวอยากกลับมาตอนเป็นขี้เถ้าแบบปรีดา หรือยอมกลับมาเป็นขี้ข้าของลุง ได้สายสะพาย และเมียไม่ต้องไปเที่ยวฮ่องกง แบบขนอม

คิดว่าอีกไม่นานเกินรอ ภาคต่อของเมียแมว ลูกจ้างคงได้เห็นกันแน่ แต่ว่าจะกี่ปี
งานนี้คงสุดแท้แต่พฤติกรรมของแมว แต่เพียงผู้เดียวถ้าแมว และพรรคพวกยังไม่หยุดเรียกร้อง ปชต งานนี้มีหวัง คงยากที่เขาจะได้กลับบ้านแบบตัวเป็นๆ

แมวไม่ใช่ศัตรูที่แท้จริงของลุง



คนที่ต้องการ ปชต ทุกคนต่างหาก ที่เป็นศัตรูที่แท้จริงลุง

Source: http://pla-kapong-story.blogspot.com/search?updated-min=2011-01-01T00:00:00%2B11:00&updated-max=2012-01-01T00:00:00%2B11:00&max-results=2

ถึงทรราช คสช.


ถึงทรราช คสช.


Friday, April 29, 2016

สถุนธนิศร์ ลูกอัฒฑะ กกต. กล่าวว่า ส่วนที่ทำไม่ได้ 8 ข้อ ได้แก่ .- 1.การสัมภาษณ์ผ่านสื่อ ด้วยข้อความเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่ - 2.การนำเข้าข้อมูล อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าว รุนแรง หยาบคาย ปลุกระดมหรือข่มขู่ในเว็บไซต์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือส่งต่อข้อมูลในลักษณะดังกล่าว - 3.การทำหรือส่งสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย มีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่ - 4.การจัดเวทีสัมมนา อภิปราย โดยกลุ่มองค์กรต่างๆที่ไม่มีหน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรสื่อมวลชน ตามกฏหมายเข้าร่วมและมีเจตนาเพื่อปลุกระดมทางการเมือง - 5.การชักชวนให้ใส่เสื้อ หรือติดป้าย เข็มกลัด ธง ริบบิ้น หรือเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณ์ความเห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือการขาย การแจกจ่ายสิ่งของดังกล่าว ในลักษณะรณรงค์ทั่วไปเพื่อนำไปสู่การปลุกระดมทางการเมือง - 6.การใช้เอกสารใบปลิวหรือแผ่นพับ ที่มีข้อความเป็นเท็จ หรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย หรือปลุกระดมทางการเมือง - 7.การรายงานข่าวหรือการจัดรายการของสื่อมวลชนที่นำไปสู่การปลุกระดมหรือสร้างความวุ่นวายในสังคม - และ 8.การรณรงค์เพื่อให้เกิดการ

สถุนธนิศร์ ลูกอัฒฑะ กกต. กล่าวว่า ส่วนที่ทำไม่ได้ 8 ข้อ ได้แก่

.-
1.การสัมภาษณ์ผ่านสื่อ ด้วยข้อความเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่
-
2.การนำเข้าข้อมูล อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าว รุนแรง หยาบคาย ปลุกระดมหรือข่มขู่ในเว็บไซต์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือส่งต่อข้อมูลในลักษณะดังกล่าว
-
3.การทำหรือส่งสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย มีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่
-
4.การจัดเวทีสัมมนา อภิปราย โดยกลุ่มองค์กรต่างๆที่ไม่มีหน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรสื่อมวลชน ตามกฏหมายเข้าร่วมและมีเจตนาเพื่อปลุกระดมทางการเมือง
-
5.การชักชวนให้ใส่เสื้อ หรือติดป้าย เข็มกลัด ธง ริบบิ้น หรือเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณ์ความเห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือการขาย การแจกจ่ายสิ่งของดังกล่าว ในลักษณะรณรงค์ทั่วไปเพื่อนำไปสู่การปลุกระดมทางการเมือง
-
6.การใช้เอกสารใบปลิวหรือแผ่นพับ ที่มีข้อความเป็นเท็จ หรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย หรือปลุกระดมทางการเมือง
-
7.การรายงานข่าวหรือการจัดรายการของสื่อมวลชนที่นำไปสู่การปลุกระดมหรือสร้างความวุ่นวายในสังคม
-
และ 8.การรณรงค์เพื่อให้เกิดการคล้อยตามของคนในสังคม เพื่อให้ออกเสียงอย่างไรอย่างหนึ่ง มีลักษณะการปลุกระดมหรือขัดขวางการออกเสียง


----------------------------------------------------------------------------------

แต่....................

เอกสารที่ทาง อาสาฯ กว่า สามแสนสามหมื่นคนเอาไปแจก ชาวบ้านร้านตลาด มีข้อความชัดแจ้งว่า "รับร่าง"

กูผู้เสียภาษีเป็นเงินเดือนให้พวกมึงแดกห่า ขอถามสัสสลิ่ม อย่างพวกมึงว่า ข้อกล่าวห้ามครอบจักรวาลของ กกต. สมุนทรราช คสช. นั้น 

แค่ ๆ ....................

พวกอาสาฯ ที่พวกมึงจัดให้ไปแจกแผ่นพับ กว่า สามแสนสามหมื่นคนนั้น ผิดเต็มประตู ทำไม ถึงไม่จับ เพราะเหตุใด .... ? ถืออภิสิทธิ์อย่างไร

กู.....ขอประกาศ เลยว่า แม้พวกสมุน กกต. ส้นตีน  จะห้ามแสดงสัมภาษณ์ผ่านสื่อ แต่กู.... ในฐานะประชาชน ผู้เป็นเจ้าของประเทศ กูก็ไม่รับกฏหมาย ที่ลิดรอนสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ที่จะแสดงออกไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับ  ของ เหล่า ทรราช คสช. เช่นกัน

"เอาไงเอากัน"

กูไม่กลัวมึง 

-

เสรีชน


A137C431-2E14-499B-AEFA-C1371251FCFB

สถุนธนิศร์ ลูกอัฒฑะ กกต. กล่าวว่า ส่วนที่ทำไม่ได้ 8 ข้อ ได้แก่ .- 1.การสัมภาษณ์ผ่านสื่อ ด้วยข้อความเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่ - 2.การนำเข้าข้อมูล อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าว รุนแรง หยาบคาย ปลุกระดมหรือข่มขู่ในเว็บไซต์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือส่งต่อข้อมูลในลักษณะดังกล่าว - 3.การทำหรือส่งสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย มีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่ - 4.การจัดเวทีสัมมนา อภิปราย โดยกลุ่มองค์กรต่างๆที่ไม่มีหน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรสื่อมวลชน ตามกฏหมายเข้าร่วมและมีเจตนาเพื่อปลุกระดมทางการเมือง - 5.การชักชวนให้ใส่เสื้อ หรือติดป้าย เข็มกลัด ธง ริบบิ้น หรือเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณ์ความเห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือการขาย การแจกจ่ายสิ่งของดังกล่าว ในลักษณะรณรงค์ทั่วไปเพื่อนำไปสู่การปลุกระดมทางการเมือง - 6.การใช้เอกสารใบปลิวหรือแผ่นพับ ที่มีข้อความเป็นเท็จ หรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย หรือปลุกระดมทางการเมือง - 7.การรายงานข่าวหรือการจัดรายการของสื่อมวลชนที่นำไปสู่การปลุกระดมหรือสร้างความวุ่นวายในสังคม - และ 8.การรณรงค์เพื่อให้เกิดการ

สถุนธนิศร์ ลูกอัฒฑะ กกต. กล่าวว่า ส่วนที่ทำไม่ได้ 8 ข้อ ได้แก่

.-
1.การสัมภาษณ์ผ่านสื่อ ด้วยข้อความเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่
-
2.การนำเข้าข้อมูล อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าว รุนแรง หยาบคาย ปลุกระดมหรือข่มขู่ในเว็บไซต์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือส่งต่อข้อมูลในลักษณะดังกล่าว
-
3.การทำหรือส่งสัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย มีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่
-
4.การจัดเวทีสัมมนา อภิปราย โดยกลุ่มองค์กรต่างๆที่ไม่มีหน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรสื่อมวลชน ตามกฏหมายเข้าร่วมและมีเจตนาเพื่อปลุกระดมทางการเมือง
-
5.การชักชวนให้ใส่เสื้อ หรือติดป้าย เข็มกลัด ธง ริบบิ้น หรือเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณ์ความเห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือการขาย การแจกจ่ายสิ่งของดังกล่าว ในลักษณะรณรงค์ทั่วไปเพื่อนำไปสู่การปลุกระดมทางการเมือง
-
6.การใช้เอกสารใบปลิวหรือแผ่นพับ ที่มีข้อความเป็นเท็จ หรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย หรือปลุกระดมทางการเมือง
-
7.การรายงานข่าวหรือการจัดรายการของสื่อมวลชนที่นำไปสู่การปลุกระดมหรือสร้างความวุ่นวายในสังคม
-
และ 8.การรณรงค์เพื่อให้เกิดการคล้อยตามของคนในสังคม เพื่อให้ออกเสียงอย่างไรอย่างหนึ่ง มีลักษณะการปลุกระดมหรือขัดขวางการออกเสียง


----------------------------------------------------------------------------------

แต่....................

เอกสารที่ทาง อาสาฯ กว่า สามแสนสามหมื่นคนเอาไปแจก ชาวบ้านร้านตลาด มีข้อความชัดแจ้งว่า "รับร่าง"

กูผู้เสียภาษีเป็นเงินเดือนให้พวกมึงแดกห่า ขอถามสัสสลิ่ม อย่างพวกมึงว่า ข้อกล่าวห้ามครอบจักรวาลของ กกต. สมุนทรราช คสช. นั้น 

แค่ ๆ ....................

พวกอาสาฯ ที่พวกมึงจัดให้ไปแจกแผ่นพับ กว่า สามแสนสามหมื่นคนนั้น ผิดเต็มประตู ทำไม ถึงไม่จับ เพราะเหตุใด .... ? ถืออภิสิทธิ์อย่างไร

กู.....ขอประกาศ เลยว่า แม้พวกสมุน กกต. ส้นตีน  จะห้ามแสดงสัมภาษณ์ผ่านสื่อ แต่กู.... ในฐานะประชาชน ผู้เป็นเจ้าของประเทศ กูก็ไม่รับกฏหมาย ที่ลิดรอนสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ที่จะแสดงออกไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับ  ของ เหล่า ทรราช คสช. เช่นกัน

"เอาไงเอากัน"

กูไม่กลัวมึง 

-

เสรีชน


A137C431-2E14-499B-AEFA-C1371251FCFB

เผย! แผนลับ จับพระธัมมชโยสึก

เผย! แผนลับ จับพระธัมมชโยสึก

-
พระธัมมชโยท่านป่วยหลายโรคมากว่า 10 ปี ออกนอกวัดไม่เกิน 3 ครั้ง ตลอดมาทั้งปีที่ผ่านมา พระธัมมชโยไม่เคยออกนอกวัดเลย ท่านเป็นเรื้อรังมายาวนาน ทั้งเบาหวาน ความดัน ภูมิแพ้ กล้ามเนื้ออักเสบ เส้นเลือดดำอุดตัน ฯ ถ้านั่งในรถนานๆก็มีปัญหา ออกไปข้างนอกไปเจอสภาพอากาศที่ควบคุมไม่ได้ ฝุ่น ควัน เชื้อโรค สารเคมีแม้จากเสื้อผ้าของคนรอบข้าง ก็เสี่ยงต่อการติดเชื้อ อาการจะยิ่งทรุดหนัก

-
ทำไม..พระธัมมชโย + วัดพระธรรมกาย + วัดอื่นๆ ที่รับเช็คสหกรณ์ คลองจั่นอัยการสั่งให้ DSI สอบสวนเพิ่มเติม แล้วส่งให้อัยการพิจารณาอีกครั้ง

-
ทำไม ในเมื่อ DSI หรือพนักงานสอบสวนสามารถมาแจ้งข้อกล่าวหากับผู้ต้องหาได้ด้วยตัวเองโดยที่ไม่ต้องมีหมายเรียกตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 52 วรรค 2 ได้ ทำไมไม่ไปสอบสวนที่วัดล่ะคะ ทั้งที่รู้ว่า
-
(หรือไม่รู้ หรือแกล้งไม่รู้) ถ้าเลื่อนไปเรื่อยๆก็แจ้งข้อกล่าวหาไม่ได้สักที ก็มาแจ้งที่วัดเลยสิ
-
ขั้นตอนของกระบวนการสอบสวนจะได้จบ ต่อไปเป็นขั้นตอนของการฟ้อง เป็นเรื่องของอัยการว่าคดีมีมูลและอยู่ในเกณฑ์จะส่งฟ้องหรือไม่ และเป็นเรื่องของศาลว่าจะประทับฟ้องหรือไม่ เพราะคดีนี้ไม่มีผู้เสียหายตามป.วิ.อ.แล้ว แถมเป็นฟ้องซ้อนกับคดีก่อน

-
 ในคดีที่ 146/2556 ที่มีการฟ้องคุณศุภชัยฐานลักทรัพย์นายจ้าง  ซึ่งตามหลักกฎหมายมีอยู่ว่า "บุคคลไม่ควรถูกพิจารณาในมูลคดีเดียวกัน 2 ครั้ง "
-
 ถ้าจะฟ้องในกรณีที่มูลคดีเป็นเรื่องอันเดียวกัน ต้องบรรยายมาในคดี 145/2556 ว่าฟ้องใครเป็นจำเลยบ้าง ฟ้องข้อหาอะไรบ้าง
-

  กรณีนำมูลคดีเดียวกันมาฟ้องอีกครั้งนี้ ศาลไม่อาจประทับฟ้องได้ คดี 27/2559 เป็นฟ้องซ้อน ถ้าต่อมาภายหลังศาลประทับฟ้องคดี 146 /2556 เมื่อไหร่ ศาลต้องยกฟ้องคดี 27/2559 อย่างเดียว
-

เพราะฉะนั้น DSI จะแจ้งข้อกล่าวหาพระธัมมชโยนั้น จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย และควรจะถูกฟ้องกลับความผิดอาญาฐานเป็นเจ้าพนักงานกลั่นแกล้งผู้อื่นเพื่อให้ได้รับโทษด้วย

-
 สรุป DSI รู้ว่าเป็นฟ้องซ้อน ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 173 วรรค 2 (1) ประกอบป.วิ.อาญา มาตรา 15  แต่ที่ออกหมายเรียกให้เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายไปรับทราบข้อกล่าวหาที่ DSI ให้ท่านออกจากวัดให้ได้ ทั้งที่มาแจ้งข้อกล่าวหาที่วัดเองจะง่ายแสนง่าย เพราะ DSI ไม่ได้ป่วยเรื้อรังแบบพระธัมมชโย

-
 แต่ทำไมไม่ทำ มีแผนต้องการจะหลอกให้พระธัมมชโย ออกไปพบข้างนอกวัด เพื่อรวบตัวหรือไม่ ? หรือถ้าแพทย์ผู้ดูแลพระธัมมชโย มีความเห็นว่าพระธัมมชโย ยังออกไปไม่ได้ จะขอเลื่อนไปอีก

-
DSI ก็จะใช้แผน 2 พยายามหาความชอบธรรมที่จะขอหมายจับจากศาลอีกใช่ไหม ?
-
ทั้งที่แค่มาแจ้งข้อกล่าวหาที่วัดพระธรรมกายก็จบแล้ว

-
 ชักสงสัยพฤติกรรมของ ดีเอสไอ

-
Cr. Olivia Armando



เผย! แผนลับ จับพระธัมมชโยสึก

เผย! แผนลับ จับพระธัมมชโยสึก

-
พระธัมมชโยท่านป่วยหลายโรคมากว่า 10 ปี ออกนอกวัดไม่เกิน 3 ครั้ง ตลอดมาทั้งปีที่ผ่านมา พระธัมมชโยไม่เคยออกนอกวัดเลย ท่านเป็นเรื้อรังมายาวนาน ทั้งเบาหวาน ความดัน ภูมิแพ้ กล้ามเนื้ออักเสบ เส้นเลือดดำอุดตัน ฯ ถ้านั่งในรถนานๆก็มีปัญหา ออกไปข้างนอกไปเจอสภาพอากาศที่ควบคุมไม่ได้ ฝุ่น ควัน เชื้อโรค สารเคมีแม้จากเสื้อผ้าของคนรอบข้าง ก็เสี่ยงต่อการติดเชื้อ อาการจะยิ่งทรุดหนัก

-
ทำไม..พระธัมมชโย + วัดพระธรรมกาย + วัดอื่นๆ ที่รับเช็คสหกรณ์ คลองจั่นอัยการสั่งให้ DSI สอบสวนเพิ่มเติม แล้วส่งให้อัยการพิจารณาอีกครั้ง

-
ทำไม ในเมื่อ DSI หรือพนักงานสอบสวนสามารถมาแจ้งข้อกล่าวหากับผู้ต้องหาได้ด้วยตัวเองโดยที่ไม่ต้องมีหมายเรียกตาม ป.วิ.อาญา มาตรา 52 วรรค 2 ได้ ทำไมไม่ไปสอบสวนที่วัดล่ะคะ ทั้งที่รู้ว่า
-
(หรือไม่รู้ หรือแกล้งไม่รู้) ถ้าเลื่อนไปเรื่อยๆก็แจ้งข้อกล่าวหาไม่ได้สักที ก็มาแจ้งที่วัดเลยสิ
-
ขั้นตอนของกระบวนการสอบสวนจะได้จบ ต่อไปเป็นขั้นตอนของการฟ้อง เป็นเรื่องของอัยการว่าคดีมีมูลและอยู่ในเกณฑ์จะส่งฟ้องหรือไม่ และเป็นเรื่องของศาลว่าจะประทับฟ้องหรือไม่ เพราะคดีนี้ไม่มีผู้เสียหายตามป.วิ.อ.แล้ว แถมเป็นฟ้องซ้อนกับคดีก่อน

-
 ในคดีที่ 146/2556 ที่มีการฟ้องคุณศุภชัยฐานลักทรัพย์นายจ้าง  ซึ่งตามหลักกฎหมายมีอยู่ว่า "บุคคลไม่ควรถูกพิจารณาในมูลคดีเดียวกัน 2 ครั้ง "
-
 ถ้าจะฟ้องในกรณีที่มูลคดีเป็นเรื่องอันเดียวกัน ต้องบรรยายมาในคดี 145/2556 ว่าฟ้องใครเป็นจำเลยบ้าง ฟ้องข้อหาอะไรบ้าง
-

  กรณีนำมูลคดีเดียวกันมาฟ้องอีกครั้งนี้ ศาลไม่อาจประทับฟ้องได้ คดี 27/2559 เป็นฟ้องซ้อน ถ้าต่อมาภายหลังศาลประทับฟ้องคดี 146 /2556 เมื่อไหร่ ศาลต้องยกฟ้องคดี 27/2559 อย่างเดียว
-

เพราะฉะนั้น DSI จะแจ้งข้อกล่าวหาพระธัมมชโยนั้น จึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย และควรจะถูกฟ้องกลับความผิดอาญาฐานเป็นเจ้าพนักงานกลั่นแกล้งผู้อื่นเพื่อให้ได้รับโทษด้วย

-
 สรุป DSI รู้ว่าเป็นฟ้องซ้อน ตามป.วิ.แพ่ง มาตรา 173 วรรค 2 (1) ประกอบป.วิ.อาญา มาตรา 15  แต่ที่ออกหมายเรียกให้เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายไปรับทราบข้อกล่าวหาที่ DSI ให้ท่านออกจากวัดให้ได้ ทั้งที่มาแจ้งข้อกล่าวหาที่วัดเองจะง่ายแสนง่าย เพราะ DSI ไม่ได้ป่วยเรื้อรังแบบพระธัมมชโย

-
 แต่ทำไมไม่ทำ มีแผนต้องการจะหลอกให้พระธัมมชโย ออกไปพบข้างนอกวัด เพื่อรวบตัวหรือไม่ ? หรือถ้าแพทย์ผู้ดูแลพระธัมมชโย มีความเห็นว่าพระธัมมชโย ยังออกไปไม่ได้ จะขอเลื่อนไปอีก

-
DSI ก็จะใช้แผน 2 พยายามหาความชอบธรรมที่จะขอหมายจับจากศาลอีกใช่ไหม ?
-
ทั้งที่แค่มาแจ้งข้อกล่าวหาที่วัดพระธรรมกายก็จบแล้ว

-
 ชักสงสัยพฤติกรรมของ ดีเอสไอ

-
Cr. Olivia Armando



ประชาชนอย่างเราๆ จะเลี้ยงหมานิสัยเหี้ยสมองควาย ….. ไว้ทำพรื๊อหล่าว?

ทรราช คสช. กวาดล้างผู้ต้องการประชาธิปไตย ด้วยข้อหา ความมั่นคง

———————————————————————————-

แม้ไอ้ตูบประยุทธ์จะกล่าวว่า การใช้คำสั่งมาตรา 44 หรือคำสั่งอื่นๆ ทุกมาตราต้องมีการตั้งประเด็นว่าจะใบ้เพราะอะไร ไม่ใช่ว่าอยู่ดีๆ จะมาประกาศใช้วันนี้สัก 5 ราย ตนไม่เคยคิดอย่างนั้น มีแต่ว่าจะทำอย่างไรให้ลดความขัดแย้งลงไปให้งานเดินหน้า เจตนามีเท่านี้ กฎหมายคือกฎหมาย แต่วิธีการบริหารจัดการต้องไม่บิดเบือนสิ่งทีทำวันนี้ ขอให้เข้าใจตรงกันว่าตนและรัฐบาล (ทรราช คสช.) มีเจตนาบริสุทธิ์ ขอให้ไว้วางใจกัน


อีกทั้งไอ้ตูบยังเห่าหอนต่ออีกว่า


"ผมยืนตรงนี้โดนด่าทั้งวัน ทำดีก็โดน ทำไม่ดียิ่งโดนหนักมากไปอีก ตนระวังตัวเองเสมอ ให้อภัยผมเถอะ อาจารย์สมคิดก็ให้อภัยผมเถอะนะ ผมมีอารมณ์บ้างนิดหน่อยเหมือนกับ"เม่น"มันต้องพองขนไว้ก่อน เพราะคนชอบมารังแกผม เพราะผมตัวเล็กกว่า"ไอ้ตูบกล่าว


หากเรามองด้วยใจเป็นธรรม เราจะพบความระยำโกหก ตอแหล จากไอ้ตูบตัวนี้ ไม่เว้นแต่ละวัน และด้วยข้อหาที่ ทรราช คสช. ยัดเยียดให้กับ พี่น้องประชาชน ที่ยืนอยู่เฉยๆ ว่า สร้างความรำคาญ ยัดข้อหา ม. 116 ให้กับประชาชนที่ทวงถามถึงความถูกต้อง


ไอ้ตูบเปรียบตัวเองเป็นดั่งเม่น ตัวเล็กจึงต้องระวังตัวด้วยการพองขน … แต่ผมว่าไม่ใช่ เพราะปฏิกรรมและการกระทำที่ไอ้ตูบได้ทำต่อ ประชาชน ผู้เสียภาษีให้เป็นเงินเดือนเลี้ยงไอ้ตูบและครอบครัวนั้น มันยิ่งกว่าหมาที่เนรคุณ ข้าวแดงแกงร้อนที่ประชาชนได้ให้ชัด ๆ


หากไอ้ตูบยังคงเนรคุณ และแสดงนิสัย หมาๆ อยู่อย่างนี้ ประชาชนอย่างเราๆ จะเลี้ยงหมานิสัยเหี้ยสมองควาย ….. ไว้ทำพรื๊อหล่าว?


เหย็ดแหม่ หัวดอ ไอ้ตูบประยุทธ์ จันทรโอชา


เสรีชน



ประชาชนอย่างเราๆ จะเลี้ยงหมานิสัยเหี้ยสมองควาย ….. ไว้ทำพรื๊อหล่าว?

ทรราช คสช. กวาดล้างผู้ต้องการประชาธิปไตย ด้วยข้อหา ความมั่นคง

———————————————————————————-

แม้ไอ้ตูบประยุทธ์จะกล่าวว่า การใช้คำสั่งมาตรา 44 หรือคำสั่งอื่นๆ ทุกมาตราต้องมีการตั้งประเด็นว่าจะใบ้เพราะอะไร ไม่ใช่ว่าอยู่ดีๆ จะมาประกาศใช้วันนี้สัก 5 ราย ตนไม่เคยคิดอย่างนั้น มีแต่ว่าจะทำอย่างไรให้ลดความขัดแย้งลงไปให้งานเดินหน้า เจตนามีเท่านี้ กฎหมายคือกฎหมาย แต่วิธีการบริหารจัดการต้องไม่บิดเบือนสิ่งทีทำวันนี้ ขอให้เข้าใจตรงกันว่าตนและรัฐบาล (ทรราช คสช.) มีเจตนาบริสุทธิ์ ขอให้ไว้วางใจกัน


อีกทั้งไอ้ตูบยังเห่าหอนต่ออีกว่า


"ผมยืนตรงนี้โดนด่าทั้งวัน ทำดีก็โดน ทำไม่ดียิ่งโดนหนักมากไปอีก ตนระวังตัวเองเสมอ ให้อภัยผมเถอะ อาจารย์สมคิดก็ให้อภัยผมเถอะนะ ผมมีอารมณ์บ้างนิดหน่อยเหมือนกับ"เม่น"มันต้องพองขนไว้ก่อน เพราะคนชอบมารังแกผม เพราะผมตัวเล็กกว่า"ไอ้ตูบกล่าว


หากเรามองด้วยใจเป็นธรรม เราจะพบความระยำโกหก ตอแหล จากไอ้ตูบตัวนี้ ไม่เว้นแต่ละวัน และด้วยข้อหาที่ ทรราช คสช. ยัดเยียดให้กับ พี่น้องประชาชน ที่ยืนอยู่เฉยๆ ว่า สร้างความรำคาญ ยัดข้อหา ม. 116 ให้กับประชาชนที่ทวงถามถึงความถูกต้อง


ไอ้ตูบเปรียบตัวเองเป็นดั่งเม่น ตัวเล็กจึงต้องระวังตัวด้วยการพองขน … แต่ผมว่าไม่ใช่ เพราะปฏิกรรมและการกระทำที่ไอ้ตูบได้ทำต่อ ประชาชน ผู้เสียภาษีให้เป็นเงินเดือนเลี้ยงไอ้ตูบและครอบครัวนั้น มันยิ่งกว่าหมาที่เนรคุณ ข้าวแดงแกงร้อนที่ประชาชนได้ให้ชัด ๆ


หากไอ้ตูบยังคงเนรคุณ และแสดงนิสัย หมาๆ อยู่อย่างนี้ ประชาชนอย่างเราๆ จะเลี้ยงหมานิสัยเหี้ยสมองควาย ….. ไว้ทำพรื๊อหล่าว?


เหย็ดแหม่ หัวดอ ไอ้ตูบประยุทธ์ จันทรโอชา


เสรีชน



ไอ้ตูบประยุทธ์ มึงกำลังทำร้าย โคตรพ่อ โคตรแม่ ของมึงเอง....สัส

ไอ้ตูบประยุทธ์ มึงกำลังทำร้าย โคตรพ่อ โคตรแม่ ของมึงเอง....สัส

https://www.facebook.com/nick.ragan.92/videos/1613381925649709/


ไอ้ตูบประยุทธ์ มึงกำลังทำร้าย โคตรพ่อ โคตรแม่ ของมึงเอง....สัส

ไอ้ตูบประยุทธ์ มึงกำลังทำร้าย โคตรพ่อ โคตรแม่ ของมึงเอง....สัส

https://www.facebook.com/nick.ragan.92/videos/1613381925649709/


ของฝาก...........จากห้องส้วม


ของฝาก...........จากห้องส้วม


กกต.คลอด 8 ข้อห้าม 6ข้อทำได้ ไลค์-แชร์ข้อมูลผิด พ.ร.บ.ประชามติโทษหนัก

กกต.คลอด 8 ข้อห้าม 6ข้อทำได้ ไลค์-แชร์ข้อมูลผิด พ.ร.บ.ประชามติโทษหนัก


กกต. ออก 6 ข้อทำได้ 8 ข้อห้ามทำ คุมรณรงค์ประชามติ เตือนแม้ไม่ขัดประกาศ กกต.แต่ต้องระวังผิดคำสั่ง คสช.ยันไม่จำกัดสิทธิประชาชนแสดงออก

เมื่อวันที่ 29 เม.ย.59 ที่สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง นายธนิศร์ ศรีประเทศ รองเลขาธิการ กกต.กล่าวถึงผลประชุม กกต.ว่า กกต.มีมติให้ออกประกาศ กกต.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการแสดงความคิดเห็นในการออกเสียงประชามติ จะมีผลเมื่อประกาศดังกล่าวลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว คาดว่าจะมีผลไม่เกินสัปดาห์หน้า โดยมีข้อกำหนด สิ่งที่ประชาชนทำได้ 6 ข้อ คือ 

1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญและประเด็นเพิ่มเติมให้เข้าใจอย่างครบถ้วน จากเว็บไซต์หรือสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการแสดงความคิดเห็นของตน 
2. แสดงความเห็นโดยใช้ถ้อยคำที่สุภาพ 
3. แสดงความเห็นด้วยข้อมูลที่มีความชัดเจนไม่กำกวม อันอาจทำให้บุคคลอื่นเห็นว่าเป็นการบิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง 
4. การนำเสนอหรืออ้างอิงงานวิจัยตามหลักวิชาการ เพื่อประกอบการแสดงความคิดเห็นให้ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงบุคคลนั้น ควรตรวจสอบความถูกต้องและแสดงที่มาของงานวิจัยนั้นด้วย 
5. การสัมภาษณ์ผ่านสื่อเพื่อแสดงความคิดเห็นพร้อมเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งของตน 
6. การนำเข้าข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นพร้อมแสดงเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งของตน ในเว็บไซต์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือการส่งต่อข้อมูลดังกล่าว โดยไม่มีการแสดงความเห็นเพิ่มเติม

รองเลขาธิการ กกต.กล่าวต่อว่า ส่วนที่ทำไม่ได้ 8 ข้อประกอบด้วย 

1. การสัมภาษณ์ผ่านสื่อด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่ 
2. การนำเข้าข้อมูล (โพสต์) อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าว รุนแรง หยาบคาย ปลุกระดมหรือข่มขู่ในเว็บไซต์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือส่งต่อข้อมูล (แชร์) ในลักษณะดังกล่าว 
3. การทำหรือส่งสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายอันมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่ 
4. การจัดเวทีสัมมนา อภิปราย โดยกลุ่มองค์กรต่างๆ ที่ไม่มีหน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรสื่อมวลชน ตามกฎหมายเข้าร่วม และมีเจตนาเพื่อปลุกระดมทางการเมือง 
5. การชักชวนให้ใส่เสื้อ หรือติดป้าย เข็มกลัด ธง ริบบิ้น หรือเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณ์ความเห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือการขายการแจกจ่ายสิ่งของดังกล่าว ในลักษณะรณรงค์ทั่วไปเพื่อนำไปสู่การปลุกระดมทางการเมือง 
6. การใช้เอกสารใบปลิวหรือแผ่นพับ ที่มีข้อความอันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคายหรือปลุกระดมทางการเมือง 
7. การรายงานข่าวหรือการจัดรายการของสื่อมวลชนที่นำไปสู่การปลุกระดมหรือสร้างความวุ่นวายในสังคม 
8. การรณรงค์เพื่อให้เกิดการคล้อยตามของคนในสังคม เพื่อให้ออกเสียงอย่างใดอย่างหนึ่ง มีลักษณะการปลุกระดมหรือขัดขวางการออกเสียง

นายธนิศร์ กล่าวด้วยว่า กรณีสื่อมวลชนสามารถรายงาน หรือ เสนอข่าวด้วยจริยธรรมแห่งวิชาชีพ ด้วยความรับผิดชอบ เป็นกลาง คำนึงถึงความเท่าเทียมและไม่ขัดต่อกฎหมาย ทั้งนี้ กกต.อาจจะออกประกาศเพิ่มเติม ถ้ามีกรณีใดเกิดขึ้นหลังจากนี้อีกเพื่อให้เกิดความชัดเจน กรณีการกระทำในเรื่องอื่นที่ กกต.อาจเขียนบอกว่าสามารถทำได้ การออกประกาศของ กกต.ยืนอยู่บนพื้นฐาน พ.ร.บ.การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ แต่การกระทำอาจจะผิดกฎหมายอย่างอื่น เช่น พ.ร.บ.รักษาความสะอาด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ประกาศหรือคำสั่ง คสช. โดยประชาชนพึงระวังความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย ซึ่งประชาชนพบเห็นการกระทำผิดสามารถร้องพนักงานสอบสวนได้เลย ไม่ต้องร้องผ่าน กกต. และพนักงานสอบสวนจะเรียกบุคคลนั้นไปให้ปากคำ และกกต.มีดำริจะเชิญ ผบ.ตร.มาทำความเข้าใจเพื่อให้การปฏิบัติงานเรียบร้อย แต่รอให้ร่างประกาศมีผลก่อน.


       อาสาหาข่าว
         29/4/59

กกต.คลอด 8 ข้อห้าม 6ข้อทำได้ ไลค์-แชร์ข้อมูลผิด พ.ร.บ.ประชามติโทษหนัก

กกต.คลอด 8 ข้อห้าม 6ข้อทำได้ ไลค์-แชร์ข้อมูลผิด พ.ร.บ.ประชามติโทษหนัก


กกต. ออก 6 ข้อทำได้ 8 ข้อห้ามทำ คุมรณรงค์ประชามติ เตือนแม้ไม่ขัดประกาศ กกต.แต่ต้องระวังผิดคำสั่ง คสช.ยันไม่จำกัดสิทธิประชาชนแสดงออก

เมื่อวันที่ 29 เม.ย.59 ที่สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง นายธนิศร์ ศรีประเทศ รองเลขาธิการ กกต.กล่าวถึงผลประชุม กกต.ว่า กกต.มีมติให้ออกประกาศ กกต.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการแสดงความคิดเห็นในการออกเสียงประชามติ จะมีผลเมื่อประกาศดังกล่าวลงราชกิจจานุเบกษาแล้ว คาดว่าจะมีผลไม่เกินสัปดาห์หน้า โดยมีข้อกำหนด สิ่งที่ประชาชนทำได้ 6 ข้อ คือ 

1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญและประเด็นเพิ่มเติมให้เข้าใจอย่างครบถ้วน จากเว็บไซต์หรือสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการแสดงความคิดเห็นของตน 
2. แสดงความเห็นโดยใช้ถ้อยคำที่สุภาพ 
3. แสดงความเห็นด้วยข้อมูลที่มีความชัดเจนไม่กำกวม อันอาจทำให้บุคคลอื่นเห็นว่าเป็นการบิดเบือนไปจากข้อเท็จจริง 
4. การนำเสนอหรืออ้างอิงงานวิจัยตามหลักวิชาการ เพื่อประกอบการแสดงความคิดเห็นให้ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงบุคคลนั้น ควรตรวจสอบความถูกต้องและแสดงที่มาของงานวิจัยนั้นด้วย 
5. การสัมภาษณ์ผ่านสื่อเพื่อแสดงความคิดเห็นพร้อมเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งของตน 
6. การนำเข้าข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นพร้อมแสดงเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งของตน ในเว็บไซต์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือการส่งต่อข้อมูลดังกล่าว โดยไม่มีการแสดงความเห็นเพิ่มเติม

รองเลขาธิการ กกต.กล่าวต่อว่า ส่วนที่ทำไม่ได้ 8 ข้อประกอบด้วย 

1. การสัมภาษณ์ผ่านสื่อด้วยข้อความอันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่ 
2. การนำเข้าข้อมูล (โพสต์) อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าว รุนแรง หยาบคาย ปลุกระดมหรือข่มขู่ในเว็บไซต์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือส่งต่อข้อมูล (แชร์) ในลักษณะดังกล่าว 
3. การทำหรือส่งสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายอันมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคาย ปลุกระดม หรือข่มขู่ 
4. การจัดเวทีสัมมนา อภิปราย โดยกลุ่มองค์กรต่างๆ ที่ไม่มีหน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา องค์กรสื่อมวลชน ตามกฎหมายเข้าร่วม และมีเจตนาเพื่อปลุกระดมทางการเมือง 
5. การชักชวนให้ใส่เสื้อ หรือติดป้าย เข็มกลัด ธง ริบบิ้น หรือเครื่องหมายที่แสดงสัญลักษณ์ความเห็นอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือการขายการแจกจ่ายสิ่งของดังกล่าว ในลักษณะรณรงค์ทั่วไปเพื่อนำไปสู่การปลุกระดมทางการเมือง 
6. การใช้เอกสารใบปลิวหรือแผ่นพับ ที่มีข้อความอันเป็นเท็จหรือมีลักษณะก้าวร้าวรุนแรงหยาบคายหรือปลุกระดมทางการเมือง 
7. การรายงานข่าวหรือการจัดรายการของสื่อมวลชนที่นำไปสู่การปลุกระดมหรือสร้างความวุ่นวายในสังคม 
8. การรณรงค์เพื่อให้เกิดการคล้อยตามของคนในสังคม เพื่อให้ออกเสียงอย่างใดอย่างหนึ่ง มีลักษณะการปลุกระดมหรือขัดขวางการออกเสียง

นายธนิศร์ กล่าวด้วยว่า กรณีสื่อมวลชนสามารถรายงาน หรือ เสนอข่าวด้วยจริยธรรมแห่งวิชาชีพ ด้วยความรับผิดชอบ เป็นกลาง คำนึงถึงความเท่าเทียมและไม่ขัดต่อกฎหมาย ทั้งนี้ กกต.อาจจะออกประกาศเพิ่มเติม ถ้ามีกรณีใดเกิดขึ้นหลังจากนี้อีกเพื่อให้เกิดความชัดเจน กรณีการกระทำในเรื่องอื่นที่ กกต.อาจเขียนบอกว่าสามารถทำได้ การออกประกาศของ กกต.ยืนอยู่บนพื้นฐาน พ.ร.บ.การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ แต่การกระทำอาจจะผิดกฎหมายอย่างอื่น เช่น พ.ร.บ.รักษาความสะอาด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ประกาศหรือคำสั่ง คสช. โดยประชาชนพึงระวังความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย ซึ่งประชาชนพบเห็นการกระทำผิดสามารถร้องพนักงานสอบสวนได้เลย ไม่ต้องร้องผ่าน กกต. และพนักงานสอบสวนจะเรียกบุคคลนั้นไปให้ปากคำ และกกต.มีดำริจะเชิญ ผบ.ตร.มาทำความเข้าใจเพื่อให้การปฏิบัติงานเรียบร้อย แต่รอให้ร่างประกาศมีผลก่อน.


       อาสาหาข่าว
         29/4/59

การลุกฮือของประชาชนที่ถูกทรราช คสช. กดขี่ คุมขัง มีโอกาสเกิดสุงมาก

หากเรามองเหตุการณ์ ณ. วันนี้ พี่น้องทุกท่าน เตรียมตัวกันหรือยังกับ ความเลวร้าย ของประเทศ ที่ทรราช คสช.จะทำให้เกิดขึ้นในไม่ช้านี้

สรุป การลุกฮือของประชาชนที่ถูกกดขี่ ตุมขัง มีโอกาสเกิดมากกว่า
--------------------------------------------------------------------------------------

อนาคตการเมืองไทยกำลังจะเจอกับอะไร เช่น

รัฐประหารซ้อน,

เป็นไปตาม road map,

การนองเลือด

ประชาธิปไตยครึ่งใบ,

hybrid regime

หรือการลุกฮือขึ้นต่อต้านรัฐบาลทหาร
-

คุยกับประจักษ์ ก้องกีรติ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ที่ทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของประชาชนในเหตุการณ์ 14 ตุลา และศึกษาเรื่องความรุนแรงในการเลือกตั้ง โดยวาระนี้คงหนีไม่พ้นการพูดคุยกันเรื่องร่างรัฐธรรมนูญ การทำประชามติ ไปจนถึงวิเคราะห์สถานการณ์ช่วงเปลี่ยนผ่านว่าจะเกิดอะไรขึ้นได้บ้าง และทางออกจากรัฐทหารมีมากน้อยเพียงไหน
-
เมื่อพิจารณาจากปัจจัยแวดล้อมทั้งหมด คิดว่าอนาคตการเมืองไทยกำลังจะเจอกับอะไร เช่น รัฐประหารซ้อน, เป็นไปตาม road map, การนองเลือด ประชาธิปไตยครึ่งใบ, hybrid regime หรือการลุกฮือขึ้นต่อต้านรัฐบาลทหาร
-
อนาคตการเมืองไทยเต็มไปด้วยความไม่แน่นอน เป็นเรื่องที่คาดเดาได้ยาก เพราะมีปัจจัยซับซ้อนหลายอย่างที่สะสมผูกเป็นปมเงื่อนที่ยากแก้การแก้ไขใน ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา และในระยะ "เปลี่ยนผ่าน" ที่เปราะบางและอ่อนไหวนี้ ลำพังปัจจัยในระดับตัวบุคคล (หมายถึงการตัดสินใจต่างๆ ของชนชั้นนำหยิบมือเล็กๆ) ก็สามารถพลิกผันการเมืองไทยได้ให้ออกหัวออกก้อยได้ แต่สำหรับ scenario ที่เป็นไปได้หลากหลายดังที่ถามมา ผมคิดว่ารัฐประหารซ้อนมีโอกาสเกิดขึ้นน้อยที่สุด ไม่ใช่ว่าจะถึงกับเป็นไปไม่ได้ แต่เท่าที่ดูสถานการณ์ปัจจุบัน มันยากมาก เพราะกองทัพค่อนข้างเป็นเอกภาพโดยเฉพาะในระดับนำ เนื่องจากถูกยึดกุมโดยขั้วเดียวกลุ่มเดียวมาเป็นเวลาเกือบทศวรรษ ขั้วอื่นๆ ที่ไม่อยู่ในสายคุมอำนาจปัจจุบันถูกเตะโด่งหรือถูกสกัดกั้นออกจากสายอำนาจ จึงยากที่จะมีการรัฐประหารซ้อนในกองทัพเกิดขึ้นได้ในระยะใกล้นี้

-
แต่แน่นอนว่า roadmap ที่จะมีการเลือกตั้งในปลายปี 2560 นั้นไม่ได้ราบเรียบมีโอกาสสะดุดได้ตลอดทาง อย่าลืมว่าการเลือกตั้งเองก็เคยถูกเลื่อนมาจาก roadmap เดิมแล้ว หัวเลี้ยวหัวต่ออยู่ที่ประชามติ ถ้าประชามติรัฐธรรมนูญผ่านและนำไปสู่การเลือกตั้งและไม่มีอุบัติเหตุเกิด ขึ้นกลางทางระหว่างนั้น หลังเลือกตั้ง สังคมไทยก็จะเผชิญกับการสถาปนาระบอบเผด็จการอำนาจนิยมที่แฝงตัวมาในร่าง ประชาธิปไตย (อย่างน้อยเอาไว้แสดงต่อนานาชาติ เพื่อให้ระบอบมันพอดูมีความชอบธรรม) ที่ชนชั้นนำในระบบราชการโดยเฉพาะกองทัพจะมีอำนาจในการกำกับควบคุมการเมือง ไทย โดยสถาบันทางการอย่างการเลือกตั้ง พรรคการเมือง รัฐสภา จะเป็นเพียงสถาบันพิธีกรรมที่ไม่ได้มีอำนาจอะไรมากนัก คือ จะเป็นระบอบที่ถอยไปไกลกว่าระบอบประชาธิปไตยครึ่งใบสมัยอดีตนายกฯ เปรม เรียกว่าประชาธิปไตยแบบเศษเสี้ยวจะดีกว่า เพราะมันไม่ถึงครึ่ง

-
อย่าลืมว่าสมัยรัฐธรรมนูญ 2521 เรายังไม่มีองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญที่มีอำนาจล้นฟ้าแบบในร่างรัฐ ธรรมนูญฉบับปัจจุบันที่สามารถขัดขวางการทำงานของรัฐบาลหรือทำให้รัฐบาลล้มไป ได้ตลอดเวลา ยังไม่ต้องพูดถึงว่านายกฯ ก็มีแนวโน้มว่าจะไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง พูดง่ายๆ เจตนารมณ์ของประชาชนที่แสดงออกผ่านการใช้สิทธิเลือกตั้งมันแทบจะไม่สามารถ กำหนดทิศทางของประเทศได้เลย คราวนี้แหละจะกลายเป็น "ประชาธิปไตย 4 วินาที" ของจริง คือเลือกตั้งเสร็จแล้วอำนาจประชาชนก็แทบหมดไปทันที กระบวนการตั้งรัฐบาลและการตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลจะหลุดไปอยู่ในมือของ องค์กร "อิสระ" และกลุ่มบุคคลต่างๆ ที่ไม่ได้มาจากการเลือกของประชาชนเลย โดยเฉพาะส.ว. 250 คนที่จะมาจากการแต่งตั้งโดยคสช. องค์กรและกลุ่มบุคคลเหล่านี้จะกลายเป็นกลุ่มอำนาจที่ทรงพลัง

-
พูดง่ายๆ ว่าเราไม่ได้ถอยกลับไปสู่ระบอบ "เปรมาธิปไตย" เพราะระบอบที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้พยายามสร้างขึ้นมันเป็นระบอบเผด็จการ อำนาจนิยมในรูปแบบใหม่ที่ต่างไปจากประชาธิปไตยครึ่งใบสมัยยุคเปรม เป็นการใช้อำนาจร่วมกันระหว่างชนชั้นนำข้าราชการ ศาลและองค์กรอิสระโดยมีรัฐบาลและรัฐสภาเป็นเครื่องประดับ และทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้การชี้นำของกองทัพ เป็นระบอบ "อำนาจนิยมแบบไทยๆ"

-
นี่คือพิมพ์เขียวที่ชนชั้นนำในปัจจุบันพยายามสร้างขึ้น และต้องเข้าใจว่าไม่ใช่เพื่อระยะเปลี่ยนผ่าน แต่เค้าตั้งใจให้มันเป็นระบอบถาวร ถามว่าระบอบดังกล่าวจะสร้างได้สำเร็จและจะอยู่คงทนหรือไม่ อันนี้ตอบลำบาก แต่ถ้าดูจากพลวัตรการเมืองไทยตั้งแต่หลังเหตุการณ์พฤษภา 2535 เป็นต้นมา ไม่มีกลุ่มชนชั้นนำไหนสถาปนาอำนาจได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดไม่ว่าจะเป็นชน ชั้นนำจากการเลือกตั้งหรือชนชั้นนำจากกองทัพ การรัฐประหาร 2534 และ 2549 ล้มรัฐบาลพลเรือนจากการเลือกตั้งได้ก็จริง แต่ก็ไม่สามารถสถาปนาระบอบเผด็จการที่มีเสถียรภาพขึ้นมาแทนที่ได้ คือเราไม่มีทั้ง consolidation of democracy และ consolidation of authoritarianism ถ้าเราดูข้อเท็จจริงง่ายๆ หลังปี 2535 เป็นต้นมา ไม่มีระบอบไหนหรือใครอยู่ในอำนาจได้เกิน 5 ปี ห้าปีนี่ยาวสุดแล้ว

-
ในเมืองไทย อำนาจและระบอบการเมืองมันสวิงไปมาตลอด เพราะชนชั้นนำมันมีหลายกลุ่มไม่เป็นเอกภาพและมวลชนตื่นตัวทางการเมืองมาก ขึ้น การลุกฮือขึ้นของประชาชนเพื่อต่อต้านและล้มรัฐบาลเกิดขึ้นให้เห็นมาตลอด ตั้งแต่ปี 2535 ฉะนั้นเราไม่อาจตัดความเป็นไปได้นี้ออกไป เพราะประวัติศาสตร์มันมีบทเรียนให้เห็นมาหลายครั้ง และเราต้องไม่ลืมว่าทศวรรษที่ผ่านมาคือ ทศวรรษที่การตื่นตัวและการมีส่วนร่วมของประชาชนไทยอยู่ในระดับที่สูงที่สุด แล้ว ภาวะสงบตอนนี้เป็นภาวะชั่วคราวเท่านั้น เทียบกันแล้วโอกาสที่จะเกิดการขบวนการประท้วงของมวลชนเพื่อล้มรัฐบาลมี มากกว่าการรัฐประหารซ้อน แต่ต้องอาศัยสถานการณ์ที่สุกงอมมากๆ บวกกับสิ่งที่เรียกว่า "ชนวน" หรือน้ำผึ้งหยดเดียว ซึ่งหมายถึงการตัดสินใจที่ผิดพลาดมากๆ ของผู้กุมอำนาจเองที่ทำให้ตัวเองสูญเสียความชอบธรรมอย่างฉับพลันและรุนแรง มันเป็นสิ่งที่เราคาดการณ์ล่วงหน้าไม่ได้เลยว่าอะไรจะคือชนวนหรือน้ำผึ้งหยด นั้น ตอน14 ตุลาฯ ที่ล้มรัฐบาลถนอม ก็คือการจับกุมแกนนำเรียกร้องรัฐธรรมนูญ ตอนพฤษภา35 คือการ "เสียสัตย์เพื่อชาติ" ของพลเอกสุจินดา ตอนล้มรัฐบาลทักษิณคือ การขายหุนเทมาเส็ก และตอนล้มรัฐบาลยิ่งลักษณ์คือ พ.ร.บ.นิรโทษกรรม

-
สรุป รัฐประหารซ้อนโอกาสน้อย การลุกฮือของประชาชนมีโอกาสมากกว่าแต่สถานการณ์ต้องสุกงอม ถ้าไม่มีการเคลื่อนไหวมวลชน แนวโน้มก็คือ การเมืองไทยเดินหน้าสู่ระบอบเผด็จการจำแลงในนามประชาธิปไตยที่เหลือแต่รูป แบบที่กลวงเปล่า ที่ชนชั้นนำในกองทัพเป็นผู้คุมทิศทางประเทศ

-
ในฐานะที่ศึกษาเรื่องการใช้ความรุนแรงในทางการเมือง เห็นเงื่อนไขของการใช้ความรุนแรงในการเมืองไทยยุคปัจจุบันหรือไม่

-
เงื่อนไขของความรุนแรงเกิดขึ้นได้ง่ายในปัจจุบัน เพราะชนชั้นนำทยอยปิดประตูของการแก้ไขความขัดแย้งด้วยสันติวิธีลงไปทีละบานๆ จนแทบไม่เหลือแล้ว ไม่เปิดให้มีเวทีที่ความเห็นต่างสามารถมาแลกเปลี่ยนกันได้อย่างอิสระเลย และถ้าความขัดแย้งแตกต่างมันไม่สามารถมีทางออกตามช่องทางในระบบ ผ่านสถาบันทางการเมือง และกติกาที่ทุกฝ่ายยอมรับร่วมกัน มันก็กลายเป็นเงื่อนไขของการเกิดความรุนแรง ซึ่งชนชั้นนำเป็นฝ่ายสร้างขึ้นเอง โดยเฉพาะร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่ตอบโจทย์ปัญหาที่สังคมเผชิญอยู่ มิหนำซ้ำยังแก้ไขได้ยากหรือจริงๆ ต้องพูดว่าแทบแก้ไขไม่ได้เลยด้วยซ้ำ ซึ่งมันเท่ากับการวางระเบิดเวลาไว้ในอนาคต

-
จริงๆ เงื่อนไขของการเกิดความรุนแรงในเมืองไทยมีอยู่ตลอดในประวัติศาสตร์ เพราะการสร้างระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยและการสถาปนาสถาบันการเมืองให้ เข้มแข็งถูกตัดตอนตลอดเวลา พอกลไกในระบบอ่อนแอและสถาบันการเมืองต่างๆ อ่อนแอ การเมืองจึงจบลงที่การใช้ความรุนแรงได้ง่าย การรัฐประหารเป็นความรุนแรงทางการเมืองที่ชัดเจนและเกิดขึ้นบ่อยครั้งที่สุด ในการเมืองไทย

-
การเมืองไทยไม่ใช่การเมืองที่สงบ ความคิดว่าเมืองไทยเป็นสยามเมืองยิ้มนั้นเป็นมายาคติที่ใหญ่ที่สุด เราเป็นสังคมที่มีการนองเลือดและการปราบปรามประชาชนโดยรัฐบ่อยครั้งมากที่ สุดประเทศหนึ่ง ฉะนั้นเงื่อนไขในการเกิดความรุนแรงมันมีมาตลอดประวัติศาสตร์ ยิ่งตั้งแต่ช่วงปี 2548 เป็นต้นมา ที่เงื่อนไขในการใช้ความรุนแรงเกิดขึ้นทั้งจากรัฐและขบวนการประชาชนเอง คือทิศทางอันหนึ่งของขบวนการภาคประชาชนกลุ่มต่างๆ หลัง 2548 มีแนวโน้มของการเคลื่อนไหวแบบแตกหักเผชิญหน้าและไม่ปฏิเสธยุทธวิธีรุนแรง เสียทั้งหมด จึงทำให้เงื่อนไขในการเกิดความรุนแรงมีสูงขึ้น

-
แต่เปรียบเทียบกันแล้ว เงื่อนไขในการเกิดความรุนแรงก็ยังคงเกิดจากรัฐมากที่สุด เมื่อชนชั้นนำที่ควบคุมรัฐอยู่รู้สึกว่าตนเองเสียการควบคุมก็จะใช้ความ รุนแรงเพื่อกระชับอำนาจ เช่น รัฐประหารหรือปราบปรามประชาชน หรือในระยะหลังรูปแบบที่น่าสนใจคือ ชนชั้นนำบวกกับภาคประชาชนบางกลุ่มจงใจสร้างวิกฤตให้เกิดขึ้นบนท้องถนนเพื่อ สร้างสภาวะให้ดูเหมือน "รัฐอัมพาต" ที่เรียกกันว่ารัฐล้มเหลว แต่มันไม่ได้ล้มเหลวตามธรรมชาติ มันถูกจงใจสร้างขึ้น ปูทางไปสู่การรัฐประหาร คือ กลไกรัฐด้านความมั่นคงเองปล่อยให้ความรุนแรงยืดเยื้อโดยตัวเองนิ่งเฉยเพื่อ สร้างความชอบธรรมให้กับการเข้ามายึดอำนาจเพื่อรักษาความสงบของตนเอง ซึ่งเป็นอะไรที่มหัศจรรย์

-
ดังนั้น เมื่อเทียบสัดส่วนกันแล้ว รัฐเป็นฝ่ายที่ใช้ความรุนแรงมากที่สุดและทำให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตมาก ที่สุด และปัจจุบันเราอยู่ในรัฐที่ใช้อำนาจเข้มข้นที่สุดนับจาก 6 ตุลา 2519 เป็นต้นมา มีลักษณะ repressive มากเพื่อสร้างบรรยากาศแห่งความหวาดกลัว และควบคุมประชาชนไม่ให้คิดเห็นแตกต่างจากรัฐ และจากร่างรัฐธรรมนูญบวกคำถามพ่วงที่ให้ส.ว. มีส่วนเลือกตั้งนายกฯ ด้วย ก็สะท้อนชัดเจนว่าผู้มีอำนาจยังต้องการสืบทอดและรักษาอำนาจต่อไป รัฐแบบนี้เมื่อเผชิญกับการต่อต้านและการเคลื่อนไหวจากประชาชน ย่อมไม่ลังเลที่จะยกระดับการใช้อำนาจปราบปรามประชาชนด้วยความรุนแรง อย่างที่เห็นชัดเจนในประวัติศาสตร์ระยะใกล้ในปี 2553

-
เงื่อนไขที่จะทำให้เกิดความรุนแรงน่าจะอยู่ที่ช่วงหลังเลือกตั้ง ถ้าผลการเลือกตั้งออกมาในลักษณะที่ผิดคาด ทำให้ชนชั้นนำจากระบอบรัฐประหารสูญเสียอำนาจในการควบคุม อาจมีการใช้กำลังเพื่อกระชับอำนาจกลับมา หรือรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งพยายามจะแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งทำได้ยากมาก ก็อาจเผชิญกับแรงโต้กลับอย่างรุนแรง

-
นอกจากนี้ เงื่อนไขของความรุนแรงอาจเกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงการทำประชามติ กรณีที่ประชามติไม่ผ่าน แล้วผู้มีอำนาจตัดสินใจนำรัฐธรรมนูญที่มีความไม่เป็นประชาธิปไตยยิ่งกว่า ร่างนี้มาประกาศใช้ เท่ากับไม่ฟังเสียงสะท้อนของประชาชน ณ จุดนั้นอาจสร้างเงื่อนไขของการเผชิญหน้าและความรุนแรงขึ้นได้

-
คิดอย่างไรกับรัฐธรรมนูญฉบับนี้ คิดว่าจะได้ประกาศใช้ไหม และหากประกาศใช้จริง ประเด็นใดที่ concern มากที่สุด

-
รัฐธรรมนูญฉบับนี้จริงๆ วิเคราะห์ง่าย ไม่มีอะไรซับซ้อนเพราะเจตนารมณ์ของผู้ร่างและผู้มีอำนาจเบื้องหลังผู้ร่าง นั้นมีความชัดเจน คือ อย่างที่ตอบไปในตอนแรกว่า ร่างนี้ต้องการควบคุม "ประชาธิปไตยแบบเสียงข้างมาก" โดยลดทอนอำนาจของพรรคการเมือง ผู้เลือกตั้งและรัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาปรกติ และถ่ายโอนอำนาจไปให้กับชนชั้นนำเสียงข้างน้อยที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง คือกองทัพ ราชการพลเรือน ศาล องค์กรอิสระ แต่ก็ต้องรักษาฉากหน้าของประชาธิปไตยให้พอมีอยู่บ้าง ไม่อย่างนั้นจะไม่มีความชอบธรรม เช่น ยอมรับให้มีการจัดการเลือกตั้ง มีส.ส.ที่มาจากการเลือกตั้งในรัฐสภา แต่ผ่านระบบเลือกตั้งแบบใหม่ที่ทำให้ระบบพรรคการเมืองอ่อนแอ กลายเป็นเบี้ยหัวแตก ซึ่งดูแล้วคสช. ค่อนข้างมั่นใจว่าจะสามารถผลักดันร่างนี้ให้ผ่านประชามติได้ แบบเดียวกับที่เคยเกิดขึ้นในการทำประชามติรัฐธรรมนูญปี 2550 อย่าลืมเราอยู่ในรัฐที่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพประชาชนยิ่งกว่าตอนปี 2550 และรัฐคงทุ่มทรัพยากรและใช้กลไกความมั่นคงทั้งหนักและเบาทุกอย่างภายใต้การ ควบคุมเพื่อผลักดันรัฐธรรมนูญนี้ให้ผ่านประชามติให้ได้

-
แต่สถานการณ์เริ่มไม่แน่นอน เพราะกลุ่มต่างๆ ที่อยู่ต่างขั้วต่างสีกันค่อยๆ ทยอยออกมาประกาศไม่รับร่าง แม้แต่พรรคประชาธิปัตย์ก็ออกมาประกาศไม่รับคำถามพ่วงและชี้ว่าไม่เห็นด้วย กับเนื้อหาของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ คืออาจจะพูดได้ว่าทั้งในภาคการเมืองและภาคประชาสังคม ตอนนี้เริ่มมีการก่อตัวของฉันทามติบางอย่างที่จะไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับ นี้ แน่นอนว่าแต่ละกลุ่มแต่ละพรรคมีเหตุผลและแรงจูงผลักดันต่างกันในการไม่รับ ร่าง แต่ผลก็คือโมเมนตัมตอนนี้มันไปในทางไม่รับ เพราะคนเริ่มเห็นแล้วว่าเนื้อหาไม่ตอบโจทก์การแก้ปัญหาสังคมไทยอำนาจมันไป กระจุกตัวที่คนกลุ่มเดียวคือ ชนชั้นนำในระบบราชการ ตัดอำนาจและการมีส่วนของคนกลุ่มอื่นไปหมด ทั้งพรรคการเมือง ภาคประชาสังคม และประชาชนผู้เลือกตั้งทั่วไปคือคนเทียบข้อดีกับข้อเสียแล้ว เห็นว่าข้อเสียมันมีมากกว่า

-
คือเท่าที่ผมพยายามตามอ่านอย่างละเอียดข้อดีข้อเดียวของฝ่ายรัฐบาลและผู้ สนับสนุนร่างนี้ที่มีการยกมาก็คือการปราบโกง ยังไม่เห็นมีใครยกข้อดีข้ออื่นขึ้นมาชัดๆ เลย แต่รัฐธรรมนูญที่ตัดสิทธิเสรีภาพประชาชนและรวมศูนย์อำนาจกลับไปที่รัฐราชการ ส่วนกลางมันไม่มีทางปราบโกงได้ เพราะประวัติศาสตร์ไทยที่ผ่านมามันชี้ให้เห็นว่าระบบราชการรวมศูนย์ภายใต้ โครงสร้างรัฐแบบอุปถัมภ์คือต้นตอสำคัญของการคอร์รัปชั่นของสังคมไทย นี่แหละคือเนื้อดินที่หล่อเลี้ยงให้การคอร์รัปชั่นมันดำรงอยู่มาอย่างยาวนาน ถามว่าหลังรัฐประหารมานี้ คอร์รัปชั่นมันหายไปหรือไม่ มันไม่ได้หายไป แต่สื่อและประชาชนตรวจสอบไม่ได้ ใครก็ตรวจสอบเอาผิดไม่ได้ เพราะรัฐอำนาจนิยมมีอำนาจแบบเบ็ดเสร็จในมือปิดกั้นการตรวจสอบ ใครพยายามจะตรวจสอบก็จะโดนข่มขู่คุกคามหรือไม่ก็ถูกจับไปปรับทัศนคติ กรณีคอร์รัปชั่นที่ชวนสงสัยต่างๆ ก็ถูกทำให้เงียบหายไปด้วยอำนาจรัฐและด้วยการประดิษฐ์คำใหม่ๆ มาเรียกแทน จากคอมมิสชั่นก็กลายเป็น "ค่าที่ปรึกษา" ประชาชนกลุ่มต่างๆ ก็เริ่มเห็นประเด็นนี้แล้ว แม้แต่องค์กรประชาสังคมที่เคยสนับสนุนคสช.ในช่วงต้น ทำให้จุดขายเรื่องปราบโกงมันเลยไม่ค่อยมีน้ำหนักเพราะมันไม่ได้สร้างระบบการ เมืองที่โปร่งใสและอำนาจเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง มันแค่ลดทอนอำนาจนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง และเอาอำนาจไปให้ชนชั้นนำอีกกลุ่มหนึ่งที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งใช้แทน โดยประชาชนและสื่อตรวจสอบควบคุมไม่ได้ บทเรียนจากทั่วโลกที่เขาประสบความสำเร็จในการปราบโกงก็ชี้ชัดแล้วว่าหัวใจ สำคัญคือ ความแข็งขันของสื่อและประชาชน รัฐธรรมนูญเฉยๆ ในฐานะกระดาษแผ่นหนึ่งมันปราบโกงไม่ได้

-
ดังนั้นโอกาสที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะถูกคว่ำในการลงประชามติมีอยู่ไม่ น้อย ถ้าบรรยากาศการลงประชามติมีเสรีภาพอย่างแท้จริงและมีองค์กรต่างชาติมาร่วม สังเกตการณ์ อย่างไรก็ตาม พอกระแสการไม่รับร่างมันเริ่มแพร่หลายออกไป ชัดเจนว่ากลุ่มผู้มีอำนาจรัฐเริ่มกลัวประชามติจะไม่ผ่าน และยิ่งใช้อำนาจอย่างเข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ ในการปิดกั้นและปราบปรามประชาชนที่เห็นต่างจากรัฐ และตอนนี้ก็เริ่มมีสัญญาณว่าเราอาจไม่ได้ทำประชามติกันด้วยซ้ำ

-
ณ ตอนนี้ยังไม่เห็นกลุ่มไหนออกมาประกาศชัดๆ ว่ารับร่างรัฐธรรมนูญนี้แบบ 100% แบบว่าสนับสนุนแบบเต็มที่ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้ดีจริงๆ อย่างมากก็บอกว่าไม่ขี้เหร่มาก พอรับได้ หรือบางคนบอกว่าให้รับไม่ใช่เพราะเห็นว่าดี แต่กลัวได้ฉบับที่แย่กว่านี้ คือในแง่หนึ่งก็ตลกดี มันเป็นรัฐธรรมนูญที่ไม่มีใคร (นอกจากผู้ร่างเอง) ชื่นชมได้อย่างเต็มปากอย่างจริงใจว่ามันดีและมันสามารถแก้ปัญหาประเทศได้ นอกจากพรรคขนาดกลางบางพรรค ซึ่งเข้าใจได้อยู่แล้ว อันนี้ไม่มีอะไรน่าแปลกใจเลย เพราะพรรคดังกล่าวเป็นพรรคท้องถิ่นแบบเจ้าพ่อที่ไม่มีทั้งอุดมการณ์และ นโยบายเป็นจุดขาย และเป็นพรรคที่จะได้ประโยชน์จากระบบเลือกตั้งแบบใหม่มากที่สุด เพราะระบบเลือกตั้งใหม่มันเน้นให้เลือกตัวบุคคล เอาส.ส.เขตเป็นฐานและจากการคำนวณคร่าวๆ แล้วพรรคขนาดกลางจะได้ที่นั่งมากกว่าเดิมมากพอสมควร

-
สำหรับผมประเด็นที่น่าวิตกมากที่สุดคือ รัฐธรรมนูญฉบับนี้มันแทบไม่เปิดช่องให้มีการแก้ไข ลองไปอ่านดู เงื่อนไขต่างๆ ที่วางไว้มันแทบจะทำให้แก้ไขไม่ได้เลย ฉบับ 2550 ว่ายากแล้ว มาเจอฉบับนี้แทบจะปิดประตูตายในการแก้ไข ปัญหาก็คือรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีจุดอ่อนขอบกพร่องมากมาย ลดทอนอำนาจอธิปไตยของประชาชน และสร้างระบอบการเมืองของชนชั้นนำที่เป็นอำนาจนิยมในขณะเดียวกันก็เป็นระบบ ที่จะไม่มีประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่ว่าใครจะขึ้นมาเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ เพราะวางกลไกให้รัฐบาลอ่อนแอ ทำงานได้ลำบาก เป็นรัฐบาลที่สำนวนอังกฤษเรียกว่ารัฐบาลเป็ดง่อย เนื่องจากถูกออกแบบมาจากฐานของความกลัว กลัวประชาชน กลัวพรรคการเมืองมันจึงเป็นรัฐธรรมนูญที่ไม่สอคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของ สังคมไทยที่ประชาชนทุกกลุ่มตื่นตัวทางการเมืองมากแล้ว และเราต้องการรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพในการผลักดันการแก้ปัญหายากๆ ที่รุมเร้าสังคมไทยอยู่มากมายนับไม่ถ้วนในปัจจุบัน การมีรัฐบาลอ่อนแอนี่จริงๆ มันไม่มีประโยชน์กับประเทศเลยนะ เพราะมันไม่มีศักยภาพที่จะผลิตหรือผลักดันนโยบายอะไรดีๆ ได้เลย มันมีแต่จะฉุดให้ประเทศหยุดนิ่งอยู่กับที่หรือไม่ก็ถอยหลังไปเรื่อยๆ ทีนี้พอรัฐธรรมนูญแทบไม่เปิดช่องให้แก้ไขได้ ก็เท่ากับมันทำให้สังคมไทยไม่มีทางออกในอนาคต และสร้างเงื่อนไขให้เกิดความรุนแรงอีกครั้ง

-
ดูจากร่างรัฐธรรมนูญ ชัดเจนว่าทหารต้องการสถาปนาอำนาจของตัวเองในทางการเมืองให้กลายเป็นสถาบัน ที่ได้รับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญ คือ จะ "อยู่ยาว" คำถามคือทหารต้องการจะอยู่ยาวไปถึงเมื่อไร เป้าหมายของการอยู่ยาวคืออะไร

-
อย่างน้อย 5 ปีตามที่เขาประกาศ แต่ก็อาจจะนานกว่านั้น เพราะส.ว.ชุดแรกอยู่ในอำนาจ 5 ปี คือนานกว่ารัฐบาล จึงอาจกำหนดตัวคนเป็นนายกฯ ได้ถึง 2 ครั้ง ซึ่งเท่ากับ 8 ปี และบทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญก็อาจถูกต่ออายุได้อีกโดยอ้างความจำเป็นของ สถานการณ์ที่ไม่ปกติ โดยเป้าหมายก็คือคุมการ "เปลี่ยนผ่าน" ซึ่งทหารย้ำอยู่บ่อยครั้ง ทุกคนทราบดีกว่าสังคมไทยกำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่และในช่วง เปลี่ยนผ่านนี้ความสัมพันธ์ทางอำนาจและดุลอำนาจของชนชั้นนำทุกกลุ่มในสังคม ไทยกำลังปรับเปลี่ยนอย่างมโหฬาร ทหารไม่อาจยอมให้มีสุญญากาศเกิดขึ้นในระยะเปลี่ยนผ่านที่เปราะบางนี้ กองทัพเชื่อมั่นว่าตัวเองเท่านั้นที่สามารถคุมการเปลี่ยนผ่านนี้ให้สงบได้ แต่จริงๆ มันไม่ใช่แค่ความเชื่อ กองทัพมีผลประโยชน์ผูกพันในระบบที่ทำให้ต้องเข้ามาเป็นคนกำหนดทิศทางของการ เปลี่ยนผ่านซะเอง อย่าลืมว่ากองทัพเป็นชนชั้นนำเก่าแก่ที่ครองอำนาจในการเมืองไทยมาเป็นระยะ เวลายาวนาน แม้ว่าประเทศจะผ่านช่วงที่เข้าสู่ประชาธิปไตยอยู่เป็นระยะๆ แต่อำนาจของกองทัพไม่เคยหายไปจากการเมืองไทยโดยสิ้นเชิง เหมือนที่นักวิชาการบางคนเปรียบกองทัพว่าทำหน้าที่เสมือน "รัฐพันลึก" (แอเจนี เมริโอ) หรือ "รัฐคู่ขนาน" (พอลแชมเบอร์ และนภิสา ไวฑูรเกีรติ 2016) ในระบบการการเมืองไทย

-
หลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 กลุ่มชนชั้นนายทุนต้องกระโดดเข้ามาเล่นการเมืองเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชน ชั้นตัวเอง สำหรับกองทัพ ในช่วงวิกฤตการเมืองที่ผ่านมารวมทั้งในระยะเปลี่ยนผ่านนี้ เป็นช่วงที่สร้างความหวาดวิตกให้กับชนชั้นนำในกองทัพอย่างมาก เพราะปัจจัย 3 ประการคือ 1.ฐานความชอบธรรมของชนชั้นนำแบบประเพณีกำลังลดน้อยถอยลง 2.พรรคการเมืองกลับมีความเข้มแข็งและมีฐานเสียงมวลชนที่ขยายตัวใหญ่โตอย่าง ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน 3.การเกิดขึ้นของการเมืองแบบมวลชนที่มีคนเข้าร่วมมหาศาลและเป็นการเมืองที่ มีลักษณะเชิงอุดมการณ์ สามปัจจัยนี้มันทำให้กองทัพวิตกกังวลกับสถานะ อำนาจ และผลประโยชน์ตนเอง เพราะมันอยู่นอกเหนือการควบคุมของกองทัพ โดยเฉพาะในการเมืองแบบเลือกตั้งซึ่งเป็นพื้นที่ที่กองทัพไทยไม่มีความถนัด และไม่มีทักษะที่จะแข่งขันได้เลย ผิดกับกองทัพในหลายประเทศที่ปรับตัวเข้าสู่เกมการเลือกตั้งเพื่อรักษาอำนาจ ของตนเอง

-
ด้วยเหตุเหล่านี้กองทัพจึงต้องการมา "คุมเกม" เพื่อสถาปนาระเบียบการเมืองใหม่ new political order ในสถานการณ์ที่ระเบียบการเมืองเก่าที่ดำรงอยู่มายาวนานกำลังจะเสื่อมไป ในกระบวนการ "คุมเกม" นี้ ก็ลดทอนอำนาจของพรรคการเมืองให้อ่อนแอลง ทำให้พรรคการเมืองเชื่องและการเลือกตั้งไม่เป็นภัยคุกคามสำหรับชนชั้นนำเดิม อีกต่อไป ในขณะเดียวกันก็กดปราบภาคประชาชนทุกสีให้สงบราบคาบเพื่อควบคุมไม่ให้มีการ เคลื่อนไหวมวลชนขนานใหญ่ได้ในช่วงเปลี่ยนผ่าน

-
ที่สำคัญ นอกจากสองกลุ่มนี้แล้ว ทหารกำลังปรับความสัมพันธ์กับกลุ่มอำนาจอื่นในเครือข่ายเดียวกันด้วย เช่น กลุ่มนายทุน แบบเดียวกับในสมัยสฤษดิ์ ที่ทหารกับกลุ่มทุนบางกลุ่มก่อตัวเป็นพันธมิตรที่เอื้อประโยชน์ให้กันและกัน ภาคประชาชนจำนวนมากก็คงตระหนักแล้วว่าหลังรัฐประหารครั้งนี้ มีการฉวยใช้อำนาจรัฐเพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่มทุนมากมายมหาศาล มีการใช้กลไกรัฐไปรุกรานและละเมิดสิทธิชุมชนและชาวบ้านเพื่อให้กลุ่มทุน ดำเนินกิจกรรมสะสมทุนได้อย่างสะดวก ไม่ว่ามันจะผิดระเบียบหรือทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างไร คือจริงๆ ถ้าศึกษาประวัติศาสตร์ก็จะพบว่ากองทัพไทยตั้งแต่หลัง 2500 ไม่ได้มีอุดมการณ์ต่อต้านทุนหรือเป็นปฏิปักษ์กับระบบทุนนิยม กองทัพอยู่ข้างทุน เขาแค่ต้องการให้ทุนต้อง "จิ้มก้อง" เค้าต่างตอบแทนกัน และเพิ่มอำนาจและโอกาสให้ตนเข้ามาแสวงหาประโยชน์จากระบบทุนนิยมด้วย

-
นอกจากนี้สิ่งที่เราเห็นหลังรัฐประหารเป็นต้นมาคือ กระบวนการที่กองทัพสถาปนาให้ตนกลายเป็น hegemonic rulerกลุ่มใหม่ที่จะครองอำนาจในระยะยาวมิใช่คนที่ต้องคอยคอยแชร์อำนาจหรือ อยู่ใต้อำนาจของชนชั้นนำกลุ่มอื่น เห็นได้ชัดทั้งในเรื่องการเพิ่มงบประมาณ เพิ่มอภิสิทธิ์ เพิ่มเงินเดือน เพิ่มกำลังพล ขยายขอบเขตการใช้อำนาจ แก้กฎระเบียบต่างๆ จัดวางบุคลากรในกองทัพเข้าไปยึดกุมวิสาหกิจของรัฐ องค์กรของรัฐ รวมทั้งองค์กรอิสระต่างๆ ที่สำคัญที่สุดก็คือ เอาอำนาจตัวเองไปใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญผ่านส.ว.แต่งตั้ง ซึ่งเท่ากับกองทัพมีพรรคการเมืองของตัวเอง มีเสียงในสภา 250 เสียง คิดเป็นครึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนฯ โดยไม่ต้องลงเลือกตั้ง

-
ในฐานะที่อาจารย์ศึกษาเรื่องการเมืองยุคเดือน ตุลา คิดว่าแนวโน้มที่ประชาชนจะลุกฮือขึ้นโค่นล้มรัฐบาลในครั้งนี้จะเกิดขึ้นได้ หรือไม่ เงื่อนไข บริบท และปัจจัยแวดล้อมอะไรที่จะทำให้ไม่เกิดขึ้น

-
อันที่จริง อย่างที่ผมกล่าวไปข้างต้น 1 ทศวรรษที่ผ่านมาคือทศวรรษที่ภาคประชาชนไทยเข้มแข็งที่สุดและมีส่วนร่วมมาก ที่สุด กลายเป็นตัวละครทางการเมืองที่มีบทบาทและมีอิทธิพลมาก แต่จนถึงปัจจุบันนับเป็นเวลา 2 ปีแล้วหลังการรัฐประหาร ที่ถามว่าทำไมเราไม่เห็นการลุกฮือขึ้นของประชาชนเพื่อต่อต้านรัฐบาล ผมคิดว่ามีปัจจัย 2 ประการ ประการแรก คือระดับการควบคุมและละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนโดยรัฐบาลหลังการรัฐ ประหาร และประการที่ 2 ความแตกแยกแบ่งขั้ว (polarization) ระหว่างภาคประชาชนเอง ในประการแรก ข้อมูลและรายงานจำนวนมากชี้ให้เห็นว่าระบอบรัฐประหารครั้งนี้มีลักษณะ repressive สูงกว่ารัฐบาลรัฐประหารในปี 2549 มาก ตั้งแต่วันที่ยึดอำนาจก็มีการจับกุมคุมขังและล็อคตัวแกนนำนักเคลื่อนไหว ทันที จนถึงทุกวันนี้ระดับของการควบคุมและปิดกั้นก็ยังไม่ลดลง แม้แต่กลุ่มนักศึกษาก็ยังถูกจับกุมติดคุกแม้ว่าจะเคลื่อนไหวอย่างสงบสันติ เพียงใดก็ตาม และการควบคุมปิดกั้นนี้มีทีท่าจะเพิ่มขึ้นเมื่อการทำประชามติใกล้เข้ามา จึงเป็นสาเหตุที่เข้าใจได้ที่ภายใต้บรรยากาศแห่งความหวาดกลัวเช่นนี้ การเคลื่อนไหวจากภาคประชาชนไม่ปรากฏ เพราะไม่มีใครอยากเสี่ยงตาย เสี่ยงคุกเสี่ยงตารางกับอนาคตการเมืองข้างหน้าที่ยังมองไม่เห็นทางออกหรือ ทางเลือกที่ชัดเจน และที่ผ่านมาคนที่ตายก่อนคือประชาชนคนธรรมดา และในสังคมนี้ถ้าคุณเป็นชาวบ้าน เป็นคนจน เมื่อตายไปแล้วก็ไม่สามารถแสวงหาความยุติธรรมได้อีก ฉะนั้นถ้ามองจากตรงนี้ มันเข้าใจได้มากๆ เลยว่าทำไม "ความเคลื่อนไหวไม่ปรากฏ" การไปติเตียนต่อว่าต่อขานประชาชนด้วยกัน ผมว่ามันไม่ค่อยแฟร์นัก

-
ส่วนเงื่อนไขที่เป็นอุปสรรคประการที่สองก็คือ การแบ่งขั้วของภาคประชาชนไทย มันไม่เหมือนตอน 14 ตุลาฯ หรือตอนพฤษภา 2535 ที่ตอนนั้นมันชัดเจน เป็นความขัดแย้งระหว่างประชาชนสู้กับรัฐ ประชาชนแม้จะมีแนวคิดต่างกันบ้าง แต่ชัดเจนว่ามีฉันทามติบางอย่างร่วมกันในปี 16 และปี 35 คือ ไม่ยอมรับการปกครองแบบเผด็จการทหารอีกต่อไปและเชื่อว่าสังคมไทยมีทางเลือก ที่ดีกว่าถูกปกครองด้วยระบอบคณาธิปไตยของกองทัพ แต่ตอนนี้ฉันทามติแบบนี้มันไม่เหลืออยู่แล้ว ภาคประชาชนแตกเป็นสองขั้วอย่างที่ทุกคนทราบดี โดยในขั้วหนึ่งยังมีความเชื่อว่าการมีทหารปกครองนั้นยังไงก็แย่น้อยกว่า นักการเมือง คือไม่ใช่ว่าทหารบริหารประเทศดีกว่ามีประสิทธิภาพกว่าหรือโปร่งใสกว่า แต่พวกเขาเกลียดนักการเมืองมากกว่า คือมันเป็นการเมืองที่ขับดันด้วยความเกลียดชัง

-
ผลของการแบ่งขั้วนี้ทำให้ชนชั้นนำในปัจจุบันปกครองง่าย หรือพูดอีกอย่างก็ได้ว่าคณะรัฐประหารเป็นกลุ่มที่ได้ประโยชน์มากที่สุดจาก สภาวะสังคมแบ่งขั้ว ไม่ว่าการบริหารประเทศจะผิดพลาดหรือขาดประสิทธิภาพอย่างไร แต่ก็ยังปกครองได้สบายๆ เพราะกลุ่มอื่นๆ ในสังคมไทยอ่อนแอและขาดพลังเนื่องจากไม่สามารถรวมพลังกันเพื่อผลักดันการ เปลี่ยนแปลงได้ เพราะความบาดหมางและความขัดแย้งรุนแรงที่สะสมในช่วงหลายปีที่ผ่านมามันมี อยู่สูง แม้แต่การสร้างแนวร่วมกว้างๆ ก็ยากที่จะเกิดขึ้น เพราะความไว้วางใจระหว่างกันในภาคประชาสังคมมันไม่เหลืออยู่ ซึ่งถามว่าเข้าใจได้ไหม เข้าใจได้ไม่ยากเลย เพราะความขัดแย้งมันยืดเยื้อเรื้อรังและความเกลียดชังระหว่างกันมันมีอยู่ สูง แต่ตราบใดที่สภาวะแบ่งขั้วอย่างที่ไม่สามารถประสานกันได้แม้แต่เรื่องเดียว แบบนี้ยังดำรงอยู่ ทหารก็จะสามารถปกครองต่อไปได้เรื่อยๆ

-
การออกจากระบอบชนชั้นนำของกองทัพในครั้งนี้ เป็นเรื่องยาก มันต้องการฉันทามติใหม่ new consensus ร่วมกันระหว่างกลุ่มต่างๆ ในภาคประชาชนว่าเราสามารถสร้างสังคมไทยที่มีอนาคตดีกว่านี้ โดยไม่ต้องตกอยู่ภายใต้ความหวาดกลัวและความเกลียดชัง แต่เป็นการเมืองของความหวังที่ประชาชนทุกกลุ่มสามารถร่วมกันกำหนดอนาคตของ บ้านเมืองตนเองได้ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าต้องรวมพลังกันในการเดินขบวนประท้วงอย่างเดียวเสมอไป มันอาจจะรวมพลังกันในรูปแบบอื่นๆ ได้หลากหลายมากมายตามแต่สถานการณ์ เช่น เฉพาะหน้านี้คือเริ่มจากการแสดงพลังร่วมกันในการลงคะแนนประชามติว่าประชาชน ทุกกลุ่มต้องการรัฐธรรมนูญที่มีเนื้อหาและกระบวนการที่ประชาชนสามารถมีส่วน ร่วมได้มากกว่าที่เป็นอยู่ มิใช่กำหนดมาแล้วโดยชนชั้นนำแบบเบ็ดเสร็จโดยที่ประชาชนไม่มีทางเลือก

-
แต่ทั้งหมดที่พูดนี้ ก็ตระหนักดีว่ามันยากมากๆ ที่จะเกิดขึ้นได้และเราอาจจะต้องอยู่กับการเมืองที่ไม่มีความหวังแบบนี้ไปอีกนานพอสมควร

-
ที่มา ประชาไท
Wed, 2016-04-27


การลุกฮือของประชาชนที่ถูกทรราช คสช. กดขี่ คุมขัง มีโอกาสเกิดสุงมาก

หากเรามองเหตุการณ์ ณ. วันนี้ พี่น้องทุกท่าน เตรียมตัวกันหรือยังกับ ความเลวร้าย ของประเทศ ที่ทรราช คสช.จะทำให้เกิดขึ้นในไม่ช้านี้

สรุป การลุกฮือของประชาชนที่ถูกกดขี่ ตุมขัง มีโอกาสเกิดมากกว่า
--------------------------------------------------------------------------------------

อนาคตการเมืองไทยกำลังจะเจอกับอะไร เช่น

รัฐประหารซ้อน,

เป็นไปตาม road map,

การนองเลือด

ประชาธิปไตยครึ่งใบ,

hybrid regime

หรือการลุกฮือขึ้นต่อต้านรัฐบาลทหาร
-

คุยกับประจักษ์ ก้องกีรติ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ที่ทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของประชาชนในเหตุการณ์ 14 ตุลา และศึกษาเรื่องความรุนแรงในการเลือกตั้ง โดยวาระนี้คงหนีไม่พ้นการพูดคุยกันเรื่องร่างรัฐธรรมนูญ การทำประชามติ ไปจนถึงวิเคราะห์สถานการณ์ช่วงเปลี่ยนผ่านว่าจะเกิดอะไรขึ้นได้บ้าง และทางออกจากรัฐทหารมีมากน้อยเพียงไหน
-
เมื่อพิจารณาจากปัจจัยแวดล้อมทั้งหมด คิดว่าอนาคตการเมืองไทยกำลังจะเจอกับอะไร เช่น รัฐประหารซ้อน, เป็นไปตาม road map, การนองเลือด ประชาธิปไตยครึ่งใบ, hybrid regime หรือการลุกฮือขึ้นต่อต้านรัฐบาลทหาร
-
อนาคตการเมืองไทยเต็มไปด้วยความไม่แน่นอน เป็นเรื่องที่คาดเดาได้ยาก เพราะมีปัจจัยซับซ้อนหลายอย่างที่สะสมผูกเป็นปมเงื่อนที่ยากแก้การแก้ไขใน ช่วง 10 ปีที่ผ่านมา และในระยะ "เปลี่ยนผ่าน" ที่เปราะบางและอ่อนไหวนี้ ลำพังปัจจัยในระดับตัวบุคคล (หมายถึงการตัดสินใจต่างๆ ของชนชั้นนำหยิบมือเล็กๆ) ก็สามารถพลิกผันการเมืองไทยได้ให้ออกหัวออกก้อยได้ แต่สำหรับ scenario ที่เป็นไปได้หลากหลายดังที่ถามมา ผมคิดว่ารัฐประหารซ้อนมีโอกาสเกิดขึ้นน้อยที่สุด ไม่ใช่ว่าจะถึงกับเป็นไปไม่ได้ แต่เท่าที่ดูสถานการณ์ปัจจุบัน มันยากมาก เพราะกองทัพค่อนข้างเป็นเอกภาพโดยเฉพาะในระดับนำ เนื่องจากถูกยึดกุมโดยขั้วเดียวกลุ่มเดียวมาเป็นเวลาเกือบทศวรรษ ขั้วอื่นๆ ที่ไม่อยู่ในสายคุมอำนาจปัจจุบันถูกเตะโด่งหรือถูกสกัดกั้นออกจากสายอำนาจ จึงยากที่จะมีการรัฐประหารซ้อนในกองทัพเกิดขึ้นได้ในระยะใกล้นี้

-
แต่แน่นอนว่า roadmap ที่จะมีการเลือกตั้งในปลายปี 2560 นั้นไม่ได้ราบเรียบมีโอกาสสะดุดได้ตลอดทาง อย่าลืมว่าการเลือกตั้งเองก็เคยถูกเลื่อนมาจาก roadmap เดิมแล้ว หัวเลี้ยวหัวต่ออยู่ที่ประชามติ ถ้าประชามติรัฐธรรมนูญผ่านและนำไปสู่การเลือกตั้งและไม่มีอุบัติเหตุเกิด ขึ้นกลางทางระหว่างนั้น หลังเลือกตั้ง สังคมไทยก็จะเผชิญกับการสถาปนาระบอบเผด็จการอำนาจนิยมที่แฝงตัวมาในร่าง ประชาธิปไตย (อย่างน้อยเอาไว้แสดงต่อนานาชาติ เพื่อให้ระบอบมันพอดูมีความชอบธรรม) ที่ชนชั้นนำในระบบราชการโดยเฉพาะกองทัพจะมีอำนาจในการกำกับควบคุมการเมือง ไทย โดยสถาบันทางการอย่างการเลือกตั้ง พรรคการเมือง รัฐสภา จะเป็นเพียงสถาบันพิธีกรรมที่ไม่ได้มีอำนาจอะไรมากนัก คือ จะเป็นระบอบที่ถอยไปไกลกว่าระบอบประชาธิปไตยครึ่งใบสมัยอดีตนายกฯ เปรม เรียกว่าประชาธิปไตยแบบเศษเสี้ยวจะดีกว่า เพราะมันไม่ถึงครึ่ง

-
อย่าลืมว่าสมัยรัฐธรรมนูญ 2521 เรายังไม่มีองค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญที่มีอำนาจล้นฟ้าแบบในร่างรัฐ ธรรมนูญฉบับปัจจุบันที่สามารถขัดขวางการทำงานของรัฐบาลหรือทำให้รัฐบาลล้มไป ได้ตลอดเวลา ยังไม่ต้องพูดถึงว่านายกฯ ก็มีแนวโน้มว่าจะไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง พูดง่ายๆ เจตนารมณ์ของประชาชนที่แสดงออกผ่านการใช้สิทธิเลือกตั้งมันแทบจะไม่สามารถ กำหนดทิศทางของประเทศได้เลย คราวนี้แหละจะกลายเป็น "ประชาธิปไตย 4 วินาที" ของจริง คือเลือกตั้งเสร็จแล้วอำนาจประชาชนก็แทบหมดไปทันที กระบวนการตั้งรัฐบาลและการตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐบาลจะหลุดไปอยู่ในมือของ องค์กร "อิสระ" และกลุ่มบุคคลต่างๆ ที่ไม่ได้มาจากการเลือกของประชาชนเลย โดยเฉพาะส.ว. 250 คนที่จะมาจากการแต่งตั้งโดยคสช. องค์กรและกลุ่มบุคคลเหล่านี้จะกลายเป็นกลุ่มอำนาจที่ทรงพลัง

-
พูดง่ายๆ ว่าเราไม่ได้ถอยกลับไปสู่ระบอบ "เปรมาธิปไตย" เพราะระบอบที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้พยายามสร้างขึ้นมันเป็นระบอบเผด็จการ อำนาจนิยมในรูปแบบใหม่ที่ต่างไปจากประชาธิปไตยครึ่งใบสมัยยุคเปรม เป็นการใช้อำนาจร่วมกันระหว่างชนชั้นนำข้าราชการ ศาลและองค์กรอิสระโดยมีรัฐบาลและรัฐสภาเป็นเครื่องประดับ และทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้การชี้นำของกองทัพ เป็นระบอบ "อำนาจนิยมแบบไทยๆ"

-
นี่คือพิมพ์เขียวที่ชนชั้นนำในปัจจุบันพยายามสร้างขึ้น และต้องเข้าใจว่าไม่ใช่เพื่อระยะเปลี่ยนผ่าน แต่เค้าตั้งใจให้มันเป็นระบอบถาวร ถามว่าระบอบดังกล่าวจะสร้างได้สำเร็จและจะอยู่คงทนหรือไม่ อันนี้ตอบลำบาก แต่ถ้าดูจากพลวัตรการเมืองไทยตั้งแต่หลังเหตุการณ์พฤษภา 2535 เป็นต้นมา ไม่มีกลุ่มชนชั้นนำไหนสถาปนาอำนาจได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดไม่ว่าจะเป็นชน ชั้นนำจากการเลือกตั้งหรือชนชั้นนำจากกองทัพ การรัฐประหาร 2534 และ 2549 ล้มรัฐบาลพลเรือนจากการเลือกตั้งได้ก็จริง แต่ก็ไม่สามารถสถาปนาระบอบเผด็จการที่มีเสถียรภาพขึ้นมาแทนที่ได้ คือเราไม่มีทั้ง consolidation of democracy และ consolidation of authoritarianism ถ้าเราดูข้อเท็จจริงง่ายๆ หลังปี 2535 เป็นต้นมา ไม่มีระบอบไหนหรือใครอยู่ในอำนาจได้เกิน 5 ปี ห้าปีนี่ยาวสุดแล้ว

-
ในเมืองไทย อำนาจและระบอบการเมืองมันสวิงไปมาตลอด เพราะชนชั้นนำมันมีหลายกลุ่มไม่เป็นเอกภาพและมวลชนตื่นตัวทางการเมืองมาก ขึ้น การลุกฮือขึ้นของประชาชนเพื่อต่อต้านและล้มรัฐบาลเกิดขึ้นให้เห็นมาตลอด ตั้งแต่ปี 2535 ฉะนั้นเราไม่อาจตัดความเป็นไปได้นี้ออกไป เพราะประวัติศาสตร์มันมีบทเรียนให้เห็นมาหลายครั้ง และเราต้องไม่ลืมว่าทศวรรษที่ผ่านมาคือ ทศวรรษที่การตื่นตัวและการมีส่วนร่วมของประชาชนไทยอยู่ในระดับที่สูงที่สุด แล้ว ภาวะสงบตอนนี้เป็นภาวะชั่วคราวเท่านั้น เทียบกันแล้วโอกาสที่จะเกิดการขบวนการประท้วงของมวลชนเพื่อล้มรัฐบาลมี มากกว่าการรัฐประหารซ้อน แต่ต้องอาศัยสถานการณ์ที่สุกงอมมากๆ บวกกับสิ่งที่เรียกว่า "ชนวน" หรือน้ำผึ้งหยดเดียว ซึ่งหมายถึงการตัดสินใจที่ผิดพลาดมากๆ ของผู้กุมอำนาจเองที่ทำให้ตัวเองสูญเสียความชอบธรรมอย่างฉับพลันและรุนแรง มันเป็นสิ่งที่เราคาดการณ์ล่วงหน้าไม่ได้เลยว่าอะไรจะคือชนวนหรือน้ำผึ้งหยด นั้น ตอน14 ตุลาฯ ที่ล้มรัฐบาลถนอม ก็คือการจับกุมแกนนำเรียกร้องรัฐธรรมนูญ ตอนพฤษภา35 คือการ "เสียสัตย์เพื่อชาติ" ของพลเอกสุจินดา ตอนล้มรัฐบาลทักษิณคือ การขายหุนเทมาเส็ก และตอนล้มรัฐบาลยิ่งลักษณ์คือ พ.ร.บ.นิรโทษกรรม

-
สรุป รัฐประหารซ้อนโอกาสน้อย การลุกฮือของประชาชนมีโอกาสมากกว่าแต่สถานการณ์ต้องสุกงอม ถ้าไม่มีการเคลื่อนไหวมวลชน แนวโน้มก็คือ การเมืองไทยเดินหน้าสู่ระบอบเผด็จการจำแลงในนามประชาธิปไตยที่เหลือแต่รูป แบบที่กลวงเปล่า ที่ชนชั้นนำในกองทัพเป็นผู้คุมทิศทางประเทศ

-
ในฐานะที่ศึกษาเรื่องการใช้ความรุนแรงในทางการเมือง เห็นเงื่อนไขของการใช้ความรุนแรงในการเมืองไทยยุคปัจจุบันหรือไม่

-
เงื่อนไขของความรุนแรงเกิดขึ้นได้ง่ายในปัจจุบัน เพราะชนชั้นนำทยอยปิดประตูของการแก้ไขความขัดแย้งด้วยสันติวิธีลงไปทีละบานๆ จนแทบไม่เหลือแล้ว ไม่เปิดให้มีเวทีที่ความเห็นต่างสามารถมาแลกเปลี่ยนกันได้อย่างอิสระเลย และถ้าความขัดแย้งแตกต่างมันไม่สามารถมีทางออกตามช่องทางในระบบ ผ่านสถาบันทางการเมือง และกติกาที่ทุกฝ่ายยอมรับร่วมกัน มันก็กลายเป็นเงื่อนไขของการเกิดความรุนแรง ซึ่งชนชั้นนำเป็นฝ่ายสร้างขึ้นเอง โดยเฉพาะร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่ตอบโจทย์ปัญหาที่สังคมเผชิญอยู่ มิหนำซ้ำยังแก้ไขได้ยากหรือจริงๆ ต้องพูดว่าแทบแก้ไขไม่ได้เลยด้วยซ้ำ ซึ่งมันเท่ากับการวางระเบิดเวลาไว้ในอนาคต

-
จริงๆ เงื่อนไขของการเกิดความรุนแรงในเมืองไทยมีอยู่ตลอดในประวัติศาสตร์ เพราะการสร้างระบอบการเมืองแบบประชาธิปไตยและการสถาปนาสถาบันการเมืองให้ เข้มแข็งถูกตัดตอนตลอดเวลา พอกลไกในระบบอ่อนแอและสถาบันการเมืองต่างๆ อ่อนแอ การเมืองจึงจบลงที่การใช้ความรุนแรงได้ง่าย การรัฐประหารเป็นความรุนแรงทางการเมืองที่ชัดเจนและเกิดขึ้นบ่อยครั้งที่สุด ในการเมืองไทย

-
การเมืองไทยไม่ใช่การเมืองที่สงบ ความคิดว่าเมืองไทยเป็นสยามเมืองยิ้มนั้นเป็นมายาคติที่ใหญ่ที่สุด เราเป็นสังคมที่มีการนองเลือดและการปราบปรามประชาชนโดยรัฐบ่อยครั้งมากที่ สุดประเทศหนึ่ง ฉะนั้นเงื่อนไขในการเกิดความรุนแรงมันมีมาตลอดประวัติศาสตร์ ยิ่งตั้งแต่ช่วงปี 2548 เป็นต้นมา ที่เงื่อนไขในการใช้ความรุนแรงเกิดขึ้นทั้งจากรัฐและขบวนการประชาชนเอง คือทิศทางอันหนึ่งของขบวนการภาคประชาชนกลุ่มต่างๆ หลัง 2548 มีแนวโน้มของการเคลื่อนไหวแบบแตกหักเผชิญหน้าและไม่ปฏิเสธยุทธวิธีรุนแรง เสียทั้งหมด จึงทำให้เงื่อนไขในการเกิดความรุนแรงมีสูงขึ้น

-
แต่เปรียบเทียบกันแล้ว เงื่อนไขในการเกิดความรุนแรงก็ยังคงเกิดจากรัฐมากที่สุด เมื่อชนชั้นนำที่ควบคุมรัฐอยู่รู้สึกว่าตนเองเสียการควบคุมก็จะใช้ความ รุนแรงเพื่อกระชับอำนาจ เช่น รัฐประหารหรือปราบปรามประชาชน หรือในระยะหลังรูปแบบที่น่าสนใจคือ ชนชั้นนำบวกกับภาคประชาชนบางกลุ่มจงใจสร้างวิกฤตให้เกิดขึ้นบนท้องถนนเพื่อ สร้างสภาวะให้ดูเหมือน "รัฐอัมพาต" ที่เรียกกันว่ารัฐล้มเหลว แต่มันไม่ได้ล้มเหลวตามธรรมชาติ มันถูกจงใจสร้างขึ้น ปูทางไปสู่การรัฐประหาร คือ กลไกรัฐด้านความมั่นคงเองปล่อยให้ความรุนแรงยืดเยื้อโดยตัวเองนิ่งเฉยเพื่อ สร้างความชอบธรรมให้กับการเข้ามายึดอำนาจเพื่อรักษาความสงบของตนเอง ซึ่งเป็นอะไรที่มหัศจรรย์

-
ดังนั้น เมื่อเทียบสัดส่วนกันแล้ว รัฐเป็นฝ่ายที่ใช้ความรุนแรงมากที่สุดและทำให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตมาก ที่สุด และปัจจุบันเราอยู่ในรัฐที่ใช้อำนาจเข้มข้นที่สุดนับจาก 6 ตุลา 2519 เป็นต้นมา มีลักษณะ repressive มากเพื่อสร้างบรรยากาศแห่งความหวาดกลัว และควบคุมประชาชนไม่ให้คิดเห็นแตกต่างจากรัฐ และจากร่างรัฐธรรมนูญบวกคำถามพ่วงที่ให้ส.ว. มีส่วนเลือกตั้งนายกฯ ด้วย ก็สะท้อนชัดเจนว่าผู้มีอำนาจยังต้องการสืบทอดและรักษาอำนาจต่อไป รัฐแบบนี้เมื่อเผชิญกับการต่อต้านและการเคลื่อนไหวจากประชาชน ย่อมไม่ลังเลที่จะยกระดับการใช้อำนาจปราบปรามประชาชนด้วยความรุนแรง อย่างที่เห็นชัดเจนในประวัติศาสตร์ระยะใกล้ในปี 2553

-
เงื่อนไขที่จะทำให้เกิดความรุนแรงน่าจะอยู่ที่ช่วงหลังเลือกตั้ง ถ้าผลการเลือกตั้งออกมาในลักษณะที่ผิดคาด ทำให้ชนชั้นนำจากระบอบรัฐประหารสูญเสียอำนาจในการควบคุม อาจมีการใช้กำลังเพื่อกระชับอำนาจกลับมา หรือรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งพยายามจะแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งทำได้ยากมาก ก็อาจเผชิญกับแรงโต้กลับอย่างรุนแรง

-
นอกจากนี้ เงื่อนไขของความรุนแรงอาจเกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงการทำประชามติ กรณีที่ประชามติไม่ผ่าน แล้วผู้มีอำนาจตัดสินใจนำรัฐธรรมนูญที่มีความไม่เป็นประชาธิปไตยยิ่งกว่า ร่างนี้มาประกาศใช้ เท่ากับไม่ฟังเสียงสะท้อนของประชาชน ณ จุดนั้นอาจสร้างเงื่อนไขของการเผชิญหน้าและความรุนแรงขึ้นได้

-
คิดอย่างไรกับรัฐธรรมนูญฉบับนี้ คิดว่าจะได้ประกาศใช้ไหม และหากประกาศใช้จริง ประเด็นใดที่ concern มากที่สุด

-
รัฐธรรมนูญฉบับนี้จริงๆ วิเคราะห์ง่าย ไม่มีอะไรซับซ้อนเพราะเจตนารมณ์ของผู้ร่างและผู้มีอำนาจเบื้องหลังผู้ร่าง นั้นมีความชัดเจน คือ อย่างที่ตอบไปในตอนแรกว่า ร่างนี้ต้องการควบคุม "ประชาธิปไตยแบบเสียงข้างมาก" โดยลดทอนอำนาจของพรรคการเมือง ผู้เลือกตั้งและรัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาปรกติ และถ่ายโอนอำนาจไปให้กับชนชั้นนำเสียงข้างน้อยที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง คือกองทัพ ราชการพลเรือน ศาล องค์กรอิสระ แต่ก็ต้องรักษาฉากหน้าของประชาธิปไตยให้พอมีอยู่บ้าง ไม่อย่างนั้นจะไม่มีความชอบธรรม เช่น ยอมรับให้มีการจัดการเลือกตั้ง มีส.ส.ที่มาจากการเลือกตั้งในรัฐสภา แต่ผ่านระบบเลือกตั้งแบบใหม่ที่ทำให้ระบบพรรคการเมืองอ่อนแอ กลายเป็นเบี้ยหัวแตก ซึ่งดูแล้วคสช. ค่อนข้างมั่นใจว่าจะสามารถผลักดันร่างนี้ให้ผ่านประชามติได้ แบบเดียวกับที่เคยเกิดขึ้นในการทำประชามติรัฐธรรมนูญปี 2550 อย่าลืมเราอยู่ในรัฐที่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพประชาชนยิ่งกว่าตอนปี 2550 และรัฐคงทุ่มทรัพยากรและใช้กลไกความมั่นคงทั้งหนักและเบาทุกอย่างภายใต้การ ควบคุมเพื่อผลักดันรัฐธรรมนูญนี้ให้ผ่านประชามติให้ได้

-
แต่สถานการณ์เริ่มไม่แน่นอน เพราะกลุ่มต่างๆ ที่อยู่ต่างขั้วต่างสีกันค่อยๆ ทยอยออกมาประกาศไม่รับร่าง แม้แต่พรรคประชาธิปัตย์ก็ออกมาประกาศไม่รับคำถามพ่วงและชี้ว่าไม่เห็นด้วย กับเนื้อหาของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ คืออาจจะพูดได้ว่าทั้งในภาคการเมืองและภาคประชาสังคม ตอนนี้เริ่มมีการก่อตัวของฉันทามติบางอย่างที่จะไม่รับร่างรัฐธรรมนูญฉบับ นี้ แน่นอนว่าแต่ละกลุ่มแต่ละพรรคมีเหตุผลและแรงจูงผลักดันต่างกันในการไม่รับ ร่าง แต่ผลก็คือโมเมนตัมตอนนี้มันไปในทางไม่รับ เพราะคนเริ่มเห็นแล้วว่าเนื้อหาไม่ตอบโจทก์การแก้ปัญหาสังคมไทยอำนาจมันไป กระจุกตัวที่คนกลุ่มเดียวคือ ชนชั้นนำในระบบราชการ ตัดอำนาจและการมีส่วนของคนกลุ่มอื่นไปหมด ทั้งพรรคการเมือง ภาคประชาสังคม และประชาชนผู้เลือกตั้งทั่วไปคือคนเทียบข้อดีกับข้อเสียแล้ว เห็นว่าข้อเสียมันมีมากกว่า

-
คือเท่าที่ผมพยายามตามอ่านอย่างละเอียดข้อดีข้อเดียวของฝ่ายรัฐบาลและผู้ สนับสนุนร่างนี้ที่มีการยกมาก็คือการปราบโกง ยังไม่เห็นมีใครยกข้อดีข้ออื่นขึ้นมาชัดๆ เลย แต่รัฐธรรมนูญที่ตัดสิทธิเสรีภาพประชาชนและรวมศูนย์อำนาจกลับไปที่รัฐราชการ ส่วนกลางมันไม่มีทางปราบโกงได้ เพราะประวัติศาสตร์ไทยที่ผ่านมามันชี้ให้เห็นว่าระบบราชการรวมศูนย์ภายใต้ โครงสร้างรัฐแบบอุปถัมภ์คือต้นตอสำคัญของการคอร์รัปชั่นของสังคมไทย นี่แหละคือเนื้อดินที่หล่อเลี้ยงให้การคอร์รัปชั่นมันดำรงอยู่มาอย่างยาวนาน ถามว่าหลังรัฐประหารมานี้ คอร์รัปชั่นมันหายไปหรือไม่ มันไม่ได้หายไป แต่สื่อและประชาชนตรวจสอบไม่ได้ ใครก็ตรวจสอบเอาผิดไม่ได้ เพราะรัฐอำนาจนิยมมีอำนาจแบบเบ็ดเสร็จในมือปิดกั้นการตรวจสอบ ใครพยายามจะตรวจสอบก็จะโดนข่มขู่คุกคามหรือไม่ก็ถูกจับไปปรับทัศนคติ กรณีคอร์รัปชั่นที่ชวนสงสัยต่างๆ ก็ถูกทำให้เงียบหายไปด้วยอำนาจรัฐและด้วยการประดิษฐ์คำใหม่ๆ มาเรียกแทน จากคอมมิสชั่นก็กลายเป็น "ค่าที่ปรึกษา" ประชาชนกลุ่มต่างๆ ก็เริ่มเห็นประเด็นนี้แล้ว แม้แต่องค์กรประชาสังคมที่เคยสนับสนุนคสช.ในช่วงต้น ทำให้จุดขายเรื่องปราบโกงมันเลยไม่ค่อยมีน้ำหนักเพราะมันไม่ได้สร้างระบบการ เมืองที่โปร่งใสและอำนาจเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง มันแค่ลดทอนอำนาจนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้ง และเอาอำนาจไปให้ชนชั้นนำอีกกลุ่มหนึ่งที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งใช้แทน โดยประชาชนและสื่อตรวจสอบควบคุมไม่ได้ บทเรียนจากทั่วโลกที่เขาประสบความสำเร็จในการปราบโกงก็ชี้ชัดแล้วว่าหัวใจ สำคัญคือ ความแข็งขันของสื่อและประชาชน รัฐธรรมนูญเฉยๆ ในฐานะกระดาษแผ่นหนึ่งมันปราบโกงไม่ได้

-
ดังนั้นโอกาสที่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้จะถูกคว่ำในการลงประชามติมีอยู่ไม่ น้อย ถ้าบรรยากาศการลงประชามติมีเสรีภาพอย่างแท้จริงและมีองค์กรต่างชาติมาร่วม สังเกตการณ์ อย่างไรก็ตาม พอกระแสการไม่รับร่างมันเริ่มแพร่หลายออกไป ชัดเจนว่ากลุ่มผู้มีอำนาจรัฐเริ่มกลัวประชามติจะไม่ผ่าน และยิ่งใช้อำนาจอย่างเข้มข้นมากขึ้นเรื่อยๆ ในการปิดกั้นและปราบปรามประชาชนที่เห็นต่างจากรัฐ และตอนนี้ก็เริ่มมีสัญญาณว่าเราอาจไม่ได้ทำประชามติกันด้วยซ้ำ

-
ณ ตอนนี้ยังไม่เห็นกลุ่มไหนออกมาประกาศชัดๆ ว่ารับร่างรัฐธรรมนูญนี้แบบ 100% แบบว่าสนับสนุนแบบเต็มที่ว่ารัฐธรรมนูญฉบับนี้ดีจริงๆ อย่างมากก็บอกว่าไม่ขี้เหร่มาก พอรับได้ หรือบางคนบอกว่าให้รับไม่ใช่เพราะเห็นว่าดี แต่กลัวได้ฉบับที่แย่กว่านี้ คือในแง่หนึ่งก็ตลกดี มันเป็นรัฐธรรมนูญที่ไม่มีใคร (นอกจากผู้ร่างเอง) ชื่นชมได้อย่างเต็มปากอย่างจริงใจว่ามันดีและมันสามารถแก้ปัญหาประเทศได้ นอกจากพรรคขนาดกลางบางพรรค ซึ่งเข้าใจได้อยู่แล้ว อันนี้ไม่มีอะไรน่าแปลกใจเลย เพราะพรรคดังกล่าวเป็นพรรคท้องถิ่นแบบเจ้าพ่อที่ไม่มีทั้งอุดมการณ์และ นโยบายเป็นจุดขาย และเป็นพรรคที่จะได้ประโยชน์จากระบบเลือกตั้งแบบใหม่มากที่สุด เพราะระบบเลือกตั้งใหม่มันเน้นให้เลือกตัวบุคคล เอาส.ส.เขตเป็นฐานและจากการคำนวณคร่าวๆ แล้วพรรคขนาดกลางจะได้ที่นั่งมากกว่าเดิมมากพอสมควร

-
สำหรับผมประเด็นที่น่าวิตกมากที่สุดคือ รัฐธรรมนูญฉบับนี้มันแทบไม่เปิดช่องให้มีการแก้ไข ลองไปอ่านดู เงื่อนไขต่างๆ ที่วางไว้มันแทบจะทำให้แก้ไขไม่ได้เลย ฉบับ 2550 ว่ายากแล้ว มาเจอฉบับนี้แทบจะปิดประตูตายในการแก้ไข ปัญหาก็คือรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีจุดอ่อนขอบกพร่องมากมาย ลดทอนอำนาจอธิปไตยของประชาชน และสร้างระบอบการเมืองของชนชั้นนำที่เป็นอำนาจนิยมในขณะเดียวกันก็เป็นระบบ ที่จะไม่มีประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่ว่าใครจะขึ้นมาเป็นรัฐบาลบริหารประเทศ เพราะวางกลไกให้รัฐบาลอ่อนแอ ทำงานได้ลำบาก เป็นรัฐบาลที่สำนวนอังกฤษเรียกว่ารัฐบาลเป็ดง่อย เนื่องจากถูกออกแบบมาจากฐานของความกลัว กลัวประชาชน กลัวพรรคการเมืองมันจึงเป็นรัฐธรรมนูญที่ไม่สอคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของ สังคมไทยที่ประชาชนทุกกลุ่มตื่นตัวทางการเมืองมากแล้ว และเราต้องการรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพในการผลักดันการแก้ปัญหายากๆ ที่รุมเร้าสังคมไทยอยู่มากมายนับไม่ถ้วนในปัจจุบัน การมีรัฐบาลอ่อนแอนี่จริงๆ มันไม่มีประโยชน์กับประเทศเลยนะ เพราะมันไม่มีศักยภาพที่จะผลิตหรือผลักดันนโยบายอะไรดีๆ ได้เลย มันมีแต่จะฉุดให้ประเทศหยุดนิ่งอยู่กับที่หรือไม่ก็ถอยหลังไปเรื่อยๆ ทีนี้พอรัฐธรรมนูญแทบไม่เปิดช่องให้แก้ไขได้ ก็เท่ากับมันทำให้สังคมไทยไม่มีทางออกในอนาคต และสร้างเงื่อนไขให้เกิดความรุนแรงอีกครั้ง

-
ดูจากร่างรัฐธรรมนูญ ชัดเจนว่าทหารต้องการสถาปนาอำนาจของตัวเองในทางการเมืองให้กลายเป็นสถาบัน ที่ได้รับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญ คือ จะ "อยู่ยาว" คำถามคือทหารต้องการจะอยู่ยาวไปถึงเมื่อไร เป้าหมายของการอยู่ยาวคืออะไร

-
อย่างน้อย 5 ปีตามที่เขาประกาศ แต่ก็อาจจะนานกว่านั้น เพราะส.ว.ชุดแรกอยู่ในอำนาจ 5 ปี คือนานกว่ารัฐบาล จึงอาจกำหนดตัวคนเป็นนายกฯ ได้ถึง 2 ครั้ง ซึ่งเท่ากับ 8 ปี และบทเฉพาะกาลในรัฐธรรมนูญก็อาจถูกต่ออายุได้อีกโดยอ้างความจำเป็นของ สถานการณ์ที่ไม่ปกติ โดยเป้าหมายก็คือคุมการ "เปลี่ยนผ่าน" ซึ่งทหารย้ำอยู่บ่อยครั้ง ทุกคนทราบดีกว่าสังคมไทยกำลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่และในช่วง เปลี่ยนผ่านนี้ความสัมพันธ์ทางอำนาจและดุลอำนาจของชนชั้นนำทุกกลุ่มในสังคม ไทยกำลังปรับเปลี่ยนอย่างมโหฬาร ทหารไม่อาจยอมให้มีสุญญากาศเกิดขึ้นในระยะเปลี่ยนผ่านที่เปราะบางนี้ กองทัพเชื่อมั่นว่าตัวเองเท่านั้นที่สามารถคุมการเปลี่ยนผ่านนี้ให้สงบได้ แต่จริงๆ มันไม่ใช่แค่ความเชื่อ กองทัพมีผลประโยชน์ผูกพันในระบบที่ทำให้ต้องเข้ามาเป็นคนกำหนดทิศทางของการ เปลี่ยนผ่านซะเอง อย่าลืมว่ากองทัพเป็นชนชั้นนำเก่าแก่ที่ครองอำนาจในการเมืองไทยมาเป็นระยะ เวลายาวนาน แม้ว่าประเทศจะผ่านช่วงที่เข้าสู่ประชาธิปไตยอยู่เป็นระยะๆ แต่อำนาจของกองทัพไม่เคยหายไปจากการเมืองไทยโดยสิ้นเชิง เหมือนที่นักวิชาการบางคนเปรียบกองทัพว่าทำหน้าที่เสมือน "รัฐพันลึก" (แอเจนี เมริโอ) หรือ "รัฐคู่ขนาน" (พอลแชมเบอร์ และนภิสา ไวฑูรเกีรติ 2016) ในระบบการการเมืองไทย

-
หลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 กลุ่มชนชั้นนายทุนต้องกระโดดเข้ามาเล่นการเมืองเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชน ชั้นตัวเอง สำหรับกองทัพ ในช่วงวิกฤตการเมืองที่ผ่านมารวมทั้งในระยะเปลี่ยนผ่านนี้ เป็นช่วงที่สร้างความหวาดวิตกให้กับชนชั้นนำในกองทัพอย่างมาก เพราะปัจจัย 3 ประการคือ 1.ฐานความชอบธรรมของชนชั้นนำแบบประเพณีกำลังลดน้อยถอยลง 2.พรรคการเมืองกลับมีความเข้มแข็งและมีฐานเสียงมวลชนที่ขยายตัวใหญ่โตอย่าง ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน 3.การเกิดขึ้นของการเมืองแบบมวลชนที่มีคนเข้าร่วมมหาศาลและเป็นการเมืองที่ มีลักษณะเชิงอุดมการณ์ สามปัจจัยนี้มันทำให้กองทัพวิตกกังวลกับสถานะ อำนาจ และผลประโยชน์ตนเอง เพราะมันอยู่นอกเหนือการควบคุมของกองทัพ โดยเฉพาะในการเมืองแบบเลือกตั้งซึ่งเป็นพื้นที่ที่กองทัพไทยไม่มีความถนัด และไม่มีทักษะที่จะแข่งขันได้เลย ผิดกับกองทัพในหลายประเทศที่ปรับตัวเข้าสู่เกมการเลือกตั้งเพื่อรักษาอำนาจ ของตนเอง

-
ด้วยเหตุเหล่านี้กองทัพจึงต้องการมา "คุมเกม" เพื่อสถาปนาระเบียบการเมืองใหม่ new political order ในสถานการณ์ที่ระเบียบการเมืองเก่าที่ดำรงอยู่มายาวนานกำลังจะเสื่อมไป ในกระบวนการ "คุมเกม" นี้ ก็ลดทอนอำนาจของพรรคการเมืองให้อ่อนแอลง ทำให้พรรคการเมืองเชื่องและการเลือกตั้งไม่เป็นภัยคุกคามสำหรับชนชั้นนำเดิม อีกต่อไป ในขณะเดียวกันก็กดปราบภาคประชาชนทุกสีให้สงบราบคาบเพื่อควบคุมไม่ให้มีการ เคลื่อนไหวมวลชนขนานใหญ่ได้ในช่วงเปลี่ยนผ่าน

-
ที่สำคัญ นอกจากสองกลุ่มนี้แล้ว ทหารกำลังปรับความสัมพันธ์กับกลุ่มอำนาจอื่นในเครือข่ายเดียวกันด้วย เช่น กลุ่มนายทุน แบบเดียวกับในสมัยสฤษดิ์ ที่ทหารกับกลุ่มทุนบางกลุ่มก่อตัวเป็นพันธมิตรที่เอื้อประโยชน์ให้กันและกัน ภาคประชาชนจำนวนมากก็คงตระหนักแล้วว่าหลังรัฐประหารครั้งนี้ มีการฉวยใช้อำนาจรัฐเพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่มทุนมากมายมหาศาล มีการใช้กลไกรัฐไปรุกรานและละเมิดสิทธิชุมชนและชาวบ้านเพื่อให้กลุ่มทุน ดำเนินกิจกรรมสะสมทุนได้อย่างสะดวก ไม่ว่ามันจะผิดระเบียบหรือทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างไร คือจริงๆ ถ้าศึกษาประวัติศาสตร์ก็จะพบว่ากองทัพไทยตั้งแต่หลัง 2500 ไม่ได้มีอุดมการณ์ต่อต้านทุนหรือเป็นปฏิปักษ์กับระบบทุนนิยม กองทัพอยู่ข้างทุน เขาแค่ต้องการให้ทุนต้อง "จิ้มก้อง" เค้าต่างตอบแทนกัน และเพิ่มอำนาจและโอกาสให้ตนเข้ามาแสวงหาประโยชน์จากระบบทุนนิยมด้วย

-
นอกจากนี้สิ่งที่เราเห็นหลังรัฐประหารเป็นต้นมาคือ กระบวนการที่กองทัพสถาปนาให้ตนกลายเป็น hegemonic rulerกลุ่มใหม่ที่จะครองอำนาจในระยะยาวมิใช่คนที่ต้องคอยคอยแชร์อำนาจหรือ อยู่ใต้อำนาจของชนชั้นนำกลุ่มอื่น เห็นได้ชัดทั้งในเรื่องการเพิ่มงบประมาณ เพิ่มอภิสิทธิ์ เพิ่มเงินเดือน เพิ่มกำลังพล ขยายขอบเขตการใช้อำนาจ แก้กฎระเบียบต่างๆ จัดวางบุคลากรในกองทัพเข้าไปยึดกุมวิสาหกิจของรัฐ องค์กรของรัฐ รวมทั้งองค์กรอิสระต่างๆ ที่สำคัญที่สุดก็คือ เอาอำนาจตัวเองไปใส่ไว้ในรัฐธรรมนูญผ่านส.ว.แต่งตั้ง ซึ่งเท่ากับกองทัพมีพรรคการเมืองของตัวเอง มีเสียงในสภา 250 เสียง คิดเป็นครึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนฯ โดยไม่ต้องลงเลือกตั้ง

-
ในฐานะที่อาจารย์ศึกษาเรื่องการเมืองยุคเดือน ตุลา คิดว่าแนวโน้มที่ประชาชนจะลุกฮือขึ้นโค่นล้มรัฐบาลในครั้งนี้จะเกิดขึ้นได้ หรือไม่ เงื่อนไข บริบท และปัจจัยแวดล้อมอะไรที่จะทำให้ไม่เกิดขึ้น

-
อันที่จริง อย่างที่ผมกล่าวไปข้างต้น 1 ทศวรรษที่ผ่านมาคือทศวรรษที่ภาคประชาชนไทยเข้มแข็งที่สุดและมีส่วนร่วมมาก ที่สุด กลายเป็นตัวละครทางการเมืองที่มีบทบาทและมีอิทธิพลมาก แต่จนถึงปัจจุบันนับเป็นเวลา 2 ปีแล้วหลังการรัฐประหาร ที่ถามว่าทำไมเราไม่เห็นการลุกฮือขึ้นของประชาชนเพื่อต่อต้านรัฐบาล ผมคิดว่ามีปัจจัย 2 ประการ ประการแรก คือระดับการควบคุมและละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนโดยรัฐบาลหลังการรัฐ ประหาร และประการที่ 2 ความแตกแยกแบ่งขั้ว (polarization) ระหว่างภาคประชาชนเอง ในประการแรก ข้อมูลและรายงานจำนวนมากชี้ให้เห็นว่าระบอบรัฐประหารครั้งนี้มีลักษณะ repressive สูงกว่ารัฐบาลรัฐประหารในปี 2549 มาก ตั้งแต่วันที่ยึดอำนาจก็มีการจับกุมคุมขังและล็อคตัวแกนนำนักเคลื่อนไหว ทันที จนถึงทุกวันนี้ระดับของการควบคุมและปิดกั้นก็ยังไม่ลดลง แม้แต่กลุ่มนักศึกษาก็ยังถูกจับกุมติดคุกแม้ว่าจะเคลื่อนไหวอย่างสงบสันติ เพียงใดก็ตาม และการควบคุมปิดกั้นนี้มีทีท่าจะเพิ่มขึ้นเมื่อการทำประชามติใกล้เข้ามา จึงเป็นสาเหตุที่เข้าใจได้ที่ภายใต้บรรยากาศแห่งความหวาดกลัวเช่นนี้ การเคลื่อนไหวจากภาคประชาชนไม่ปรากฏ เพราะไม่มีใครอยากเสี่ยงตาย เสี่ยงคุกเสี่ยงตารางกับอนาคตการเมืองข้างหน้าที่ยังมองไม่เห็นทางออกหรือ ทางเลือกที่ชัดเจน และที่ผ่านมาคนที่ตายก่อนคือประชาชนคนธรรมดา และในสังคมนี้ถ้าคุณเป็นชาวบ้าน เป็นคนจน เมื่อตายไปแล้วก็ไม่สามารถแสวงหาความยุติธรรมได้อีก ฉะนั้นถ้ามองจากตรงนี้ มันเข้าใจได้มากๆ เลยว่าทำไม "ความเคลื่อนไหวไม่ปรากฏ" การไปติเตียนต่อว่าต่อขานประชาชนด้วยกัน ผมว่ามันไม่ค่อยแฟร์นัก

-
ส่วนเงื่อนไขที่เป็นอุปสรรคประการที่สองก็คือ การแบ่งขั้วของภาคประชาชนไทย มันไม่เหมือนตอน 14 ตุลาฯ หรือตอนพฤษภา 2535 ที่ตอนนั้นมันชัดเจน เป็นความขัดแย้งระหว่างประชาชนสู้กับรัฐ ประชาชนแม้จะมีแนวคิดต่างกันบ้าง แต่ชัดเจนว่ามีฉันทามติบางอย่างร่วมกันในปี 16 และปี 35 คือ ไม่ยอมรับการปกครองแบบเผด็จการทหารอีกต่อไปและเชื่อว่าสังคมไทยมีทางเลือก ที่ดีกว่าถูกปกครองด้วยระบอบคณาธิปไตยของกองทัพ แต่ตอนนี้ฉันทามติแบบนี้มันไม่เหลืออยู่แล้ว ภาคประชาชนแตกเป็นสองขั้วอย่างที่ทุกคนทราบดี โดยในขั้วหนึ่งยังมีความเชื่อว่าการมีทหารปกครองนั้นยังไงก็แย่น้อยกว่า นักการเมือง คือไม่ใช่ว่าทหารบริหารประเทศดีกว่ามีประสิทธิภาพกว่าหรือโปร่งใสกว่า แต่พวกเขาเกลียดนักการเมืองมากกว่า คือมันเป็นการเมืองที่ขับดันด้วยความเกลียดชัง

-
ผลของการแบ่งขั้วนี้ทำให้ชนชั้นนำในปัจจุบันปกครองง่าย หรือพูดอีกอย่างก็ได้ว่าคณะรัฐประหารเป็นกลุ่มที่ได้ประโยชน์มากที่สุดจาก สภาวะสังคมแบ่งขั้ว ไม่ว่าการบริหารประเทศจะผิดพลาดหรือขาดประสิทธิภาพอย่างไร แต่ก็ยังปกครองได้สบายๆ เพราะกลุ่มอื่นๆ ในสังคมไทยอ่อนแอและขาดพลังเนื่องจากไม่สามารถรวมพลังกันเพื่อผลักดันการ เปลี่ยนแปลงได้ เพราะความบาดหมางและความขัดแย้งรุนแรงที่สะสมในช่วงหลายปีที่ผ่านมามันมี อยู่สูง แม้แต่การสร้างแนวร่วมกว้างๆ ก็ยากที่จะเกิดขึ้น เพราะความไว้วางใจระหว่างกันในภาคประชาสังคมมันไม่เหลืออยู่ ซึ่งถามว่าเข้าใจได้ไหม เข้าใจได้ไม่ยากเลย เพราะความขัดแย้งมันยืดเยื้อเรื้อรังและความเกลียดชังระหว่างกันมันมีอยู่ สูง แต่ตราบใดที่สภาวะแบ่งขั้วอย่างที่ไม่สามารถประสานกันได้แม้แต่เรื่องเดียว แบบนี้ยังดำรงอยู่ ทหารก็จะสามารถปกครองต่อไปได้เรื่อยๆ

-
การออกจากระบอบชนชั้นนำของกองทัพในครั้งนี้ เป็นเรื่องยาก มันต้องการฉันทามติใหม่ new consensus ร่วมกันระหว่างกลุ่มต่างๆ ในภาคประชาชนว่าเราสามารถสร้างสังคมไทยที่มีอนาคตดีกว่านี้ โดยไม่ต้องตกอยู่ภายใต้ความหวาดกลัวและความเกลียดชัง แต่เป็นการเมืองของความหวังที่ประชาชนทุกกลุ่มสามารถร่วมกันกำหนดอนาคตของ บ้านเมืองตนเองได้ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าต้องรวมพลังกันในการเดินขบวนประท้วงอย่างเดียวเสมอไป มันอาจจะรวมพลังกันในรูปแบบอื่นๆ ได้หลากหลายมากมายตามแต่สถานการณ์ เช่น เฉพาะหน้านี้คือเริ่มจากการแสดงพลังร่วมกันในการลงคะแนนประชามติว่าประชาชน ทุกกลุ่มต้องการรัฐธรรมนูญที่มีเนื้อหาและกระบวนการที่ประชาชนสามารถมีส่วน ร่วมได้มากกว่าที่เป็นอยู่ มิใช่กำหนดมาแล้วโดยชนชั้นนำแบบเบ็ดเสร็จโดยที่ประชาชนไม่มีทางเลือก

-
แต่ทั้งหมดที่พูดนี้ ก็ตระหนักดีว่ามันยากมากๆ ที่จะเกิดขึ้นได้และเราอาจจะต้องอยู่กับการเมืองที่ไม่มีความหวังแบบนี้ไปอีกนานพอสมควร

-
ที่มา ประชาไท
Wed, 2016-04-27


คิดกันบ้างไหม รู้สึกกันบ้างหรือยัง - ว่าอำนาจเผด็จการฯ ทรราช ชั่วขนาดใหน

คิดกันบ้างไหม รู้สึกกันบ้างหรือยัง
-
ว่าอำนาจเผด็จการฯ ทรราช ชั่วขนาดใหน......จินตนาการกันบ้างเถอะ ถ้าวันหนึ่ง ตัวคุณ/เพื่อนคุณ ลูกคุณ พ่อคุณ ถูกอุ้มหาย คุณจะรู้สึกอย่างไร?!

------------------------------------------------------------------------------------
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: บรรยากาศเสี่ยง "อันตราย" ที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้!.
-
ก่อนท้องฟ้าจะสดใส ทำหน้าที่คล้ายบทบรรณาธิการ ที่แสดงจุดยืนของทีมงานไอลอว์ ในฐานะคนทำงานติดตามประเด็นต่างๆ

อ่านตอนใหม่ได้ที่ >> http://ilaw.or.th/node/4093]
.
ช่วงเช้าของวันนี้ (27 เมษายน 2559) มีรายงานผ่านโลกออนไลน์เป็นระยะว่า ประชาชนคนธรรมดาถูกจับกุมและพาตัวไปจากบ้านตั้งแต่เวลารุ่งเช้า อย่างน้อย 10 คน
.
โดยบุคคลที่ถูกจับตัวไป บางคนเป็นช่างภาพ บางคนเป็นเจ้าของกิจการ บ้างก็เป็นนักเขียน แต่สิ่งที่คล้ายกันในหมู่พวกเขาก็คือ "ความสนใจต่อเหตุการณ์บ้านเมือง"
.
แต่ท่ามกลางความสับสนของการใช้อำนาจจับกุมตัวบุคคลดังกล่าว ไอลอว์มีข้อสังเกตเกี่ยวกับเหตุผลและความชอบธรรมในอำนาจที่จะจับกุม ตรวจค้น ยึดหรืออายัดทรัพย์สิน รวมไปถึงการควบคุมตัวในครั้งนี้ว่า มันมีปัญหาในแง่ "อำนาจที่ใช้กับฐานความผิดไม่สอดคล้องกัน"
.
กล่าวคือ การจับกุมและควบคุมตัวดังกล่าว หากเป็นการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฯ จริง ฐานความผิดดังกล่าวไม่อยู่ในอำนาจของคำสั่งหัวหน้า คสช. ไม่ว่าจะเป็นฉบับที่ 3/2558 หรือ13/2559 ที่จะให้เจ้าหน้าที่ทหารเข้าจับกุมและควบคุมตัวไว้ได้ นอกจากนี้ หากเป็นกรณีที่เป็นความผิดจากการโพสต์เฟซบุ๊ก ย่อมไม่ใช่การกระทำความผิดซึ่งหน้า ดังนั้น เจ้าหน้าที่ทหารไม่สามารถอ้างอำนาจคำสั่งหัวหน้า คสช. เพื่อใช้กับกรณีนี้ได้
.
อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา มีหลายกรณีที่เจ้าหน้าที่ใช้อำนาจโดยมิได้เป็นไปตามบทบัญญัติที่ให้อำนาจไว้ และกลับกลายเป็นคนที่ละเมิดมันเสียเอง
.
อีกทั้ง เมื่อเจ้าหน้าที่ทหารเข้าจับกุมโดยไม่มีหมายศาล ไม่มีการแจ้งข้อหา หรือการกระทำความผิด และไม่ให้สิทธิในการพบทนายความหรือติดต่อญาติ ไม่เปิดเผยสถานที่ควบคุมตัว สิ่งเหล่านี้ล้วนนำไปสู่ความเสี่ยงต่อการบังคับให้สูญหาย การซ้อมทรมาน และการเสียชีวิตในระหว่างการควบคุมตัว
.
รวมไปถึงการแทรกแซงกระบวนการยุติธรรมโดยทหาร เช่น การข่มขู่ให้รับสารภาพระหว่างการควบคุมตัวในค่ายทหาร นอกจากนี้ กลไกต่างๆ ซึ่งต้องตรวจสอบถ่วงดุลก็ไม่สามารถทำงานได้อีก
.
สิ่งหนึ่งที่เกิดเป็นคำถามในสภาวะเช่นนี้ก็คือ "ประเทศไทยกำลังจะเข้าสู่บรรยากาศเสี่ยงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับใครก็ได้ใช่หรือไม่"

-
Cr.iLaw